旧アメリカ領事館跡

キュウアメリカリョウジカンアト

■解説

旧アメリカ領事館跡

安政元年(1854年)に締結された日米和親条約を端緒に、伊豆下田とともに箱館は諸外国との窓口として翌年開港された。
安政4年(1857年)の春、合衆国貿易事務官エリシャ・E・ライスが鯨猟船に乗って来港し、ここ弥生小学校あたり、当時の第1大区1小区富岡町14番地の別堂を浄玄寺から 借り受け、星条旗を掲げ貿易事務所を開設した。
以来、ライスは箱館に出入港する米国船舶の利益を守り、かつ在留する米国民の保護・取り締まりにあたり、日米間の融和を計り、のち元治2年(1865年)に初代米国領事に任命された。
明治9年(1876年) 、領事館は一時閉鎖されて横浜領事館の管轄となり、その後、現在の元町4番の遺愛幼稚園 (ハリストス正教会の北隣)、さらに現在の船見町3番(咬菜園跡東側)に移転し、それぞれ領事代理に委嘱された宣教師や商人たちが自宅を領事館として執務した。
アメリカ領事館が函館における役割を終え、大正7年(1918年)11月15日、正式に閉鎖された。
函館市

 

■観光説明板

安政元年(1854)に締結された日米和親条約を端緒に、伊豆下田とともに箱館は諸外国との窓口として翌年開港されました。
安政4年の春、合衆国貿易事務官エリシャ・E・ライスが鯨猟船に乗って来港し、浄玄寺(現在の元町公園の下辺からここ弥生小学校あたり、当時の第1大区1小区富岡町14番地)の別堂を借り受け、星条旗を掲げ貿易事務所を開設しました。
以来、ライスは箱館に出入港する米国船舶の利益を守り、かつ在留する米国民の保護・取り締まりにあたり、日米間の融和を計り、のち1865年にライスは、初代米国領事に任命されました。
明治9年(1876)領事館は一時閉鎖されて横浜領事館の管轄となり、その後、現在の元町4番の遺愛幼稚園(ハリストス正教会の北隣)、さらに現在の船見町3番(咬菜園跡東側)に移転し、それぞれ領事代理に委嘱された宣教師や商人たちが自宅を領事館として執務しました。
アメリカ領事館が函館における役割を終え、正式に閉鎖されたのは、大正7年(1918)11月15日でありました。

函館市

描述

旧美国领事馆遗迹

安政元年(1854年)由于缔结了日美和亲条约,函馆与伊豆下田作为与各国对接的窗口一同在隔年开港。
安政4年(1857年)春天,合众国贸易事务官以利沙・E・莱斯(Elisha E. Rice)乘坐猎鲸船来港,就在弥生小学这个地方,与净玄寺借用当时第1大区1小区富冈町14番地的别堂,挂上星条旗并开设了贸易事务所。
而后莱斯一边守护着出入箱馆美国船舶的利益,一边保护并管理著居留在此的美国国民,为日美之间的融合鞠躬尽瘁,在元治2年(1865年)被任命为初代美国领事。
明治9年(1876年),领事馆暂时关闭并改由横滨领事馆管辖。在此之后,传教士与商人们被任命为领事代理,并以他们的住家为领事馆。如今元町4番的遗爱幼稚园 (哈利斯特斯正教堂的北侧)以及现在的船见町3番(咬菜园遗迹东侧)就曾经是当时的领事馆。
美国领事馆在函馆的任务告终,大正7年(1918年)11月15日时正式关闭。
函馆市

描述

舊美國領事館遺跡

安政元年(1854年)由於締結了日美和親條約,函館與伊豆下田作為與各國對接的窗口一同在隔年開港。
安政4年(1857年)春天,合眾國貿易事務官以利沙・E・萊斯(Elisha E. Rice)乘坐獵鯨船來港,就在彌生小學這個地方,與淨玄寺借用當時第1大區1小區富岡町14番地的別堂,掛上星條旗並開設了貿易事務所。
而後萊斯一邊守護著出入箱館美國船舶的利益,一邊保護並管理著居留在此的美國國民,為日美之間的融合鞠躬盡瘁,在元治2年(1865年)被任命為初代美國領事。
明治9年(1876年),領事館暫時關閉並改由橫濱領事館管轄。在此之後,傳教士與商人們被任命為領事代理,並以他們的住家為領事館。如今元町4番的遺愛幼稚園 (哈利斯特斯正教堂的北側)以及現在的船見町3番(咬菜園遺跡東側)就曾經是當時的領事館。
美國領事館在函館的任務告終,大正7年(1918年)11月15日時正式關閉。
函館市

คำอธิบาย

ที่ที่เคยเป็นสถานกงสุลสหรัฐอเมริกาเดิม

จากการทำสนธิสัญญาสันติภาพระหว่างญี่ปุ่น - สหรัฐอเมริกาในปีอันเซที่ 1 (ค.ศ.1854) ฮาโกดาเตะและอิซึชิโมดะก็พร้อมกันเปิดท่าเรือในปีถัดมา เพื่อให้เป็นทางเข้าออกสำหรับต่างประเทศ
ในฤดูใบไม้ผลิของปีอันเซที่ 4 (ค.ศ.1857) เลขานุการการค้าของสหรัฐอเมริกา เอลิชา อี ไรซ์ นั่งเรือล่าวาฬมาที่ท่าเรือ และเช่าอาคารที่ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 14 ตำบลโทมิโอกะ เขตใหญ่ที่ 1 เขตเล็กที่ 1 แถวๆ โรงเรียนประถมศึกษายาโยอิ จากวัดโจเก็นจิ เพื่อเปิดสำนักงานการค้า ปักธงชาติสหรัฐ
ตั้งแต่นั้นมา ไรซ์ได้เข้าทำหน้าที่รักษาผลประโยชน์ของเรือสัญชาติสหรัฐที่เข้าออกฮาโกดาเตะ และปกป้อง และดูแลพลเมืองสหรัฐอมเริกาที่อยู่ในญี่ปุ่น รักษาความปรองดองระหว่างสหรัฐอเมริกากับญี่ปุ่น ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกงสุลสหรัฐเป็นคนแรกในปีเก็นจิที่ 2 (ค.ศ.1865)
ปีเมจิที่ 9 (ค.ศ.1876) สถานกงสุลถูกปิดชั่วคราว และอยู่ภายใต้การดูแลของสถานกงสุลที่โยโกฮามา หลังจากนั้น เหล่ามิชชันนารีและพ่อค้าได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนกงสุล พวกเขาจึงใช้บ้านของตนเองเป็นสถานกงสุล สถานที่เหล่านั้นอยู่ที่โรงเรียนอนุบาลอิไอ ที่บ้านเลขที่ 4 ตำบลโมโตะมาจิ และ บ้านเลขที่ 3 ของตำบลฟุนามิในปัจจุบัน (ด้านตะวันออกของซากสวนโคไซเอ็น)
หลังจากที่สถานกงสุลสหรัฐอเมริกาหมดบทบาทที่ฮาโกดาเตะ จึงถูกปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ปีไทโชที่ 7 (ค.ศ.1918)

大エリア 函館市
小エリア 西部地区
所在地函館市弥生町4番
制作時代
主題時代 明治, 大正
カテゴリ 未分類