南部藩士の墓地

ナンブハンシノボチ

■解説

南部藩士の墓地

寛政11年(1799年)、幕府は東蝦夷地を直轄地(5年後には西蝦夷地も)としてその経営に乗り出し、蝦夷地の警備を南部・津軽の両藩に命じた。
両藩はそれぞれ500名ほどの藩士を派遣して警備に当たることとなった。南部藩は元陣屋を箱館に置き、根室、国後、択捉に勤番所を設け、その任に就いた。その後、文政4年(1821年)に蝦夷地は松前藩に返還されたため、両藩士たちはそれぞれ帰藩したが、安政元年(1854年)に再び蝦夷地が幕府の直轄地となると、再び東北の諸藩に蝦夷地の警備と開拓が命じられた。南部藩は箱館から幌別(現登別市)までを担当、600余名が勤務していた。
しかし、幕府が倒され明治新政府が誕生すると、箱館に箱館府が置かれて蝦夷地の経営を担当することとなり、東北諸藩の蝦夷地詰の人々は帰藩していった。
この間、多くの南部藩士が事故や病気で異郷の地に倒れた。函館で弔われた人については明治39年(1906年)から盛岡出身の有志で慰霊を続けてきたが、墓石や碑が散在し荒廃していくのを憂い、昭和12年(1937年)にこの地に集めたものである。
現在、この墓地には、12名の藩士が祀られている。
函館市

■観光説明板

寛政11年(1799年)幕府は東蝦夷地を直轄地(5年後には西蝦夷地も)としてその経営に乗り出し、蝦夷地の警備を南部・津軽の両藩に命じた。両藩はそれぞれ500名ほどの藩士を派遣して警備に当たることとなった。南部藩は元陣屋を箱館に置き根室、国後、択捉に勤番所を設け、その任に就いた。その後、文政4年(1821年)に蝦夷地は松前藩に返還されたため、両藩士たちはそれぞれ帰藩したが、安政元年(1854年)に再び蝦夷地が幕府の直轄地となると、再び東北の諸藩に蝦夷地の警備と開拓が命ぜられた。南部藩は箱館から幌別(現登別市)までを担当、600余名が勤務していた。
しかし、幕府が倒され明治新政府が誕生すると、箱館に箱館府が置かれて蝦夷地の経営を担当することとなり、東北諸藩の蝦夷地詰の人々は帰藩していった。
この間、多くの南部藩士が事故や病気で異郷の地に倒れた。函館で弔われた人については明治39年(1906年)から盛岡出身の有志で慰霊を続けてきたが、墓石や碑が散在し荒廃していくのを憂い、昭和12年にこの地に集めたものである。
現在、この墓地には、12名の藩士の墓が祀られている。

函館市

描述

南部藩士的墓地

宽政11年(1799年),幕府将东虾夷地作为直辖地(5年后再加上西虾夷地)经营,命南部・津轻两藩负责虾夷地的警备。
两藩分别派遣了500名左右的藩士作为警备之用。南部藩在箱馆设置元阵屋(统治管理之处),根室、国后岛与择捉岛设置勤番所(执行政务之处)并遣官上任。文政4年(1821年)由于虾夷地归还给松前藩,两藩的藩士们也陆续归藩,到了安政元年(1854年)虾夷地再度被设为幕府直辖地,东北的诸藩也再次受命进行虾夷地的警备与开拓。从箱馆到幌别(现登别市),由南部藩600余名藩士执勤。
可惜随着幕府被推倒后明治新政府的诞生,箱馆重新设置了箱馆府负责经营虾夷地,从东北诸藩来到虾夷的人也重新归藩。
当时有许多南部藩士因为事故或是疾病等原因而魂断异乡。为了这些埋葬在函馆的人可以得到祭祀,在明治39年(1906年)开始由盛冈出身的有志之士将散落各处的墓石以及墓碑集中,于昭和12年(1937年)时统一安置在此地。
如今这座墓地共供奉著12名藩士。
函馆市

描述

南部藩士的墓地

寬政11年(1799年),幕府將東蝦夷地作為直轄地(5年後再加上西蝦夷地)經營,命南部・津輕兩藩負責蝦夷地的警備。
兩藩分別派遣了500名左右的藩士作為警備之用。南部藩在箱館設置兵營,根室、國後島與擇捉島設置勤番所(執行政務之處)並遣官上任。文政4年(1821年)由於蝦夷地歸還給松前藩,兩藩的藩士們也陸續歸藩,到了安政元年(1854年)蝦夷地再度被設為幕府直轄地,東北的諸藩也再次受命進行蝦夷地的警備與開拓。從箱館到幌別(現登別市),由南部藩600餘名藩士執勤。
可惜隨著幕府被推倒後明治新政府的誕生,箱館重新設置了箱館府負責經營蝦夷地,從東北諸藩來到蝦夷的人也重新歸藩。
當時有許多南部藩士因為事故或是疾病等原因而魂斷異鄉。為了這些埋葬在函館的人可以得到祭祀,在明治39年(1906年)開始由盛岡出身的有志之士將散落各處的墓石以及墓碑集中,於昭和12年(1937年)時統一安置在此地。
如今這座墓地共供奉著12名藩士。
函館市

คำอธิบาย

สุสานของนักรบแคว้นนัมบุ

ปีคันเซที่ 11 (ค.ศ.1799) รัฐบาลบากุฟุ เข้ายึดครองภูมิภาคเอโสะ (ฮอกไกโด) ฝั่งตะวันออก (หลังจากนั้น 5 ปี ภูมิภาคเอโสะ ฝั่งตะวันตกด้วย) และเข้าปกครอง พร้อมสั่งให้แคว้นนัมบุ (จ.อีวาเทะ) และทสึงารุ (จ.อาโอโมริ) เข้ารักษาความปลอดภัยภูมิภาคเอโสะ
ทั้งสองแคว้น ส่งนักรบของตนไปรักษาความปลอดภัยแคว้นละ 500 คน แคว้นนัมบุ (จ.อีวาเทะ) ได้สร้างโมะโตะจินยะ(จวน ที่ว่าการ) ที่ฮาโกดาเตะ และสร้างคินบันโชะ หรือที่ว่าการสาขาขึ้นที่เนะมุโระ คุนะชิริ และ เอโทโรฟุ หลังจากนั้นในปีบุนเซที่ 4 (ค.ศ. 1821) ภูมิภาคเอโสะ ถูกคืนสู่แคว้นมัตสึมาเอะ ทหารจากทั้งสองแคว้นจึงกลับภูมิลำเนาของตน แตะในปีอันเซที่ 1 (ค.ศ.1854) รัฐบาลบากุฟุเข้ายึดภูมิภาคเอโสะ อีกเป็นครั้งที่สอง จึงมีคำสั่งให้แคว้นต่างๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เข้าไปบุกเบิกและรักษาความปลอดภัยอีกครั้งหนึ่ง แคว้นนัมบุ รับผิดชอบตั้งแต่ฮาโกดาเตะไปจนถึงโฮโรเบ็ตสึ (อำเภอโนโบริเบ็ตสึในปัจจุบัน) มีทหารไปปฏิบัติหน้าที่กว่า 600 นาย
แต่ เมื่อรัฐบาลบากุฟุถูกโค่นลง และเกิดรัฐบาลใหม่คือรัฐบาลเมจิ ได้วางที่ว่าการเมืองฮาโกดาเตะ และเข้าปกครองภูมิภาคเอโสะ คนของแคว้นต่างๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็กลับภูมิลำเนาแคว้นตนเอง
ในระหว่างนั้น นักรบของแคว้นนัมบุจำนวนมาก ประสบอุบัติเหตุ และล้มป่วยที่ต่างบ้านต่างเมือง ผู้คนที่ล้มตายที่ฮาโกดาเตะ ได้มีการทำบุญอุทิศส่วนกุศลอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปีเมจิที่ 39 (ค.ศ.1906) โดยอาสาสมัครที่มีบ้านเกิดที่อำเภอโมริโอกะ แต่ป้ายหินของหลุมฝังศพ, ศิลาจารึก มีอยู่กระจัดกระจายและเสียหาย จึงได้รวบรวมมาไว้ที่นี่ในปีโชวะที่ 12 (ค.ศ. 1937)
ในปัจจุบัน มีนักรบ 12 ท่านฝังอยู่ที่สุสานแห่งนี้

大エリア 函館市
小エリア 西部地区
所在地函館市船見町23番
制作時代
主題時代 明治
カテゴリ 未分類