諸術調所跡

ショジュツシラベショ

■解説

諸術調所跡

諸術調所とは、箱館奉行所の研究教育施設で、蝦夷地の開拓と警備に必要な人材育成を目指して、安政3年(1856年)に設立された。
教授は五稜郭設計で有名な武田斐三郎で、蘭学はもとより、測量・航海・造船・砲術・築城・化学などを教え、亀田丸でロシアまで操縦航海するなど実践を重んじた教育を行った。
元治元年(1864年)、斐三郎が江戸開成所(現・東京大学の前身)の教授に転出するまで、門人多くを教育し、前島密(郵便制度創始者)、井上勝(鉄道制度創設者)など明治日本の動脈を作った優秀な門下生を輩出した。
同志社の創設者「新島襄」が箱館からアメリ力へ密航したのも、諸術調所に入るために箱館にやってきたのに、斐三郎が江戸へ出てしまっていたための行動であったとも言われている。
内外共に多難な幕末期、開明的で進取果敢の精神に満ちた人々と学舎があって、その成果を全国に及ぼした事実は、市民の誇りとするところであり、その魂は常に新しい時代の開拓のために生き続けるだろう。
函館市

■観光説明板

諸術調所跡とは、箱館奉行所の研究教育施設で、蝦夷地の開拓と警備に必要な人材育成を目指して、安政3年(1856年)に設立された。
教授は五稜郭設計で有名な武田斐三郎で、蘭学はもとより、測量・航海・造船・砲術・築城・化学などを教え、亀田丸でロシアまで操縦航海するなど実践を重んじた教育を行った。
元治元年(1864年)、斐三郎が江戸開成所(現・東京大学の前身)の教授に転出するまで、門人多くを教育し、前島密(郵便制度創始者)、井上勝(鉄道制度創設者)など明治日本の動脈を作った優秀な門下生を輩出した。
同志社の創設者「新島襄」が箱館からアメリカヘ密航したのも、諸術調所に入るために箱館にやってきたのに、斐三郎が江戸へ出ていってしまっていたための行動であったとも言われている。
内外共に多難な幕末期、開明的で進取積極の精神に満ちた人々と学舎があって、その成果を全国に及ぼした事実は、市民の誇りとするところであり、その魂は常に新しい時代の開拓のために生き続けることであろう。

函館市

描述

诸术调所遗迹

诸术调所是箱馆奉行所的研究教育设施,专门为虾夷地的开拓与警备培养必要人才,于安政3年(1856年)设立。
由知名的五棱郭设计者武田斐三郎担任教授,西学为主,教授测量・航海・造船・砲术・筑城・化学等科目,另外还有操纵龟田丸航海前往俄罗斯等课程内容相当重视实践。
直到元治元年(1864年)斐三郎转到江户开成所(现・东京大学前身)担任教授为止,教育了相当多的学生,前岛密(邮便制度创始者)、井上胜(铁道制度创始者)等优秀门生辈出,是明治日本时期不可或缺的栋梁之材。
同志社的创设者“新岛襄”从函馆偷渡到美国一事,据说也是因为他为了进入诸术调所特地来到函馆后,而斐三郎却已前往江户所导致。
在内外灾难频传的幕府末年期间,由于这些开明且果断进取的人们以及学舍的影响遍布全国,他们是市民的骄傲,这种精神为了新时代的开拓而永存不灭。
函馆市

描述

諸術調所遺跡

諸術調所是箱館奉行所的研究教育設施,專門為蝦夷地的開拓與警備培養必要人才,於安政3年(1856年)設立。
由知名的五稜郭設計者武田斐三郎擔任教授,西學為主,教授測量・航海・造船・砲術・築城・化學等科目,另外還有操縱龜田丸航海前往俄羅斯等課程內容相當重視實踐。
直到元治元年(1864年)斐三郎轉到江戶開成所(現・東京大學前身)擔任教授為止,教育了相當多的學生,前島密(郵便制度創始者)、井上勝(鐵道制度創始者)等優秀門生輩出,是明治日本時期不可或缺的棟樑之材。
同志社的創設者「新島襄」從函館偷渡到美國一事,據說也是因為他為了進入諸術調所特地來到函館後,而斐三郎卻已前往江戶所導致。
在內外災難頻傳的幕府末年期間,由於這些開明且果斷進取的人們以及學舍的影響遍布全國,他們是市民的驕傲,這種精神為了新時代的開拓而永存不滅。
函館市

คำอธิบาย

ที่ที่เคยเป็นสถาบันฝึกฝีมือ โชะจุตสึ ชิราเบะโชะ

สถาบันฝึกฝีมือ ที่เรียกเป็นภาษาญี่ปุ่นว่า โชะจุตสึ ชิราเบะโชะ คือ สถาบันฝึกอบรมและวิจัยของฮาโกดาเตะบุเกียวโชะ สร้างขึ้นในปีอันเซที่ 3 (ค.ศ.1856) โดยมุ่งเพื่อสร้างบุคลากรที่จำเป็นในการบุกเบิกและรักษาความปลอดภัยในภูมิภาคเอโสะ (ฮอกไกโด)
"ผู้สอนคือ ทาเคดะ อายะซาบุโร ที่มีชื่อเสียงจากการออกแบบป้อมรูปดาวโกะเรียวคาคุ
นอกจากวิชาการศึกษาตะวันตก เขายังสอนการรังวัดที่ดิน, การเดินเรือทางทะเล, การต่อเรือ, ปืนใหญ่, การสร้างปราสาท, วิทยาศาสตร์ ฯลฯ โดยเน้นให้ความสำคัญกับการปฎิบัติจริง เช่น การเดินเรือคาเมดะมารุไปยังประเทศรัสเซีย เป็นต้น"
ตราบที่อายะซาบุโร ย้ายไปเป็นศาสตราจารย์ที่เอโดะไคเซโชะ (มหาวิทยาลัยโตเกียวในปัจจุบัน) ในปีเก็นจิที่ 1 (ค.ศ.1864) มีผู้เข้ารับการศึกษามากมาย อาทิ มาเอะจิมะ ฮิโซกะ (ผู้ก่อตั้งระบบไปรษณีย์), อิโนะอุเอะ มาซารุ (ผู้ก่อตั้งระบบรถไฟ) ฯลฯ ผลิตนักศึกษาที่จบออกไปมีผลงานสำคัญเป็นเส้นเลือดใหญ่ของประเทศญี่ปุ่นในสมัยเมจิ
กล่าวกันว่าที่ผู้ก่อตั้งโดชิชะ "นีจิมะ โจ" แอบขึ้นเรือและเดินทางจากฮาโกดาเตะไปอเมริกา ก็เพราะอุตส่าห์มาฮาโกดาเตะเพื่อเข้าเรียนในโชะจุตสึ ชิราเบะโชะ แต่อายะซาบุโรกลับไปที่เอโดะแล้วนั่นเอง
ช่วงปลายสมัยเอโดะ ที่เป็นช่วงที่ยุ่งยากทั้งในและนอกประเทศ แต่กลับมีสถานศึกษาและผู้คนที่เต็มเปี่ยมไปด้วยจิตวิญญาณที่เปิดกว้างและกล้าได้กล้าเสีย ความจริงที่ว่าผลงานของพวกเขาได้กระจายไปทั่วประเทศ เป็นสิ่งที่ชาวเมืองฮาโกดาเตะภูมิใจ และวิญญาณของพวกเขาเหล่านั้น ก็คงจะมีชีวิตอยู่ต่อไปเพื่อบุกเบิกยุคสมัยใหม่ต่อไป

大エリア 函館市
小エリア 西部地区
所在地函館市弥生町2番
制作時代
主題時代 近世
カテゴリ 未分類