函館の上水道
ハコダテノジョウスイドウ
函館の上水道
函館の水道は、明治22年(1889年)に完成した日本で二番目の近代水道である。日本最初の水道は横浜で、これは外国人の設計監督により明治20年(1887年)に完成した。日本人の工事監督によるものとしては、函館の水道が日本で最初のものであり全国的に知られている。函館は昔から水利の便が悪く、また津軽海峡に突き出た地形のため、年間を通して風が強く、火災が発生するとたちまち大火となり、多くの犠牲者が出たこと、さらに明治19年(1886年) 、市内でコレラが大流行し、842人に及ぶ市民が死亡したことなどが契機となって、水道建設の要望が一層高まり、明治21年(1888年)念願の一大事業が着工された。
ここは、創設の時つくられた配水池がある「元町配水場」で、市街地北側にある赤川の高区浄水場から11kmの送水管によりこの配水場に送られてきた水を、市内西部地区に供給している。
函館の水道施設は、創設から6回にわたる拡張工事を行い、函館市民に清浄な水を供給している。
函館市
函館の水道は、明治22年(1889年)に完成した日本で二番目の近代水道である。日本最初の水道は横浜で、これは外国人の設計監督により明治20年(1887年)に完成した。日本人の工事監督によるものとしては、函館の水道が日本で最初のものであり全国的に有名である。函館は昔から水利の便が悪く、また津軽海峡に突き出た地形のため年間を通して風が強く、火災が発生するとたちまち大火となり、多くの犠牲者がでたこと、さらに明治19年(1886年)市内にコレラが大流行し、842人に及ぶ市民が死亡したことなどが契機となって、水道建設の要望が一層高まり、明治21年(1888年)念願の一大事業が着工された。
ここは、創設の時つくられた配水池がある「元町配水場」で、市街地北側にある赤川の高区浄水場から11kmの送水管によりこの配水場に送られてきた水を市内西部地区に供給している。
函館の水道施設は、創設から6回にわたる拡張工事を行い、現在30万人の函館市民に清浄な水を供給している。
函館市
函馆的自来水
函馆的自来水系统完成于明治22年(1889年),是日本的第二个近代上下水道。日本最早的水道位于横滨,是由外国人设计监督并于明治20年(1887年)完工。函馆的水道因为是日本最早由日本人进行工程监督因此在国内声名远播。函馆从前由于水利不便以及津轻海峡的突出地形全年风势强劲,一旦发生火灾往往蔓延成大火,牺牲人数众多。再加上明治19年(1886年)时霍乱在市内流行,市民死亡人数达到842人,对于自来水建设的需求高涨,明治21年(1888年)时期盼已久的大项目终于开工。
此处是创设时所设立的“元町配水场”,从位于市街地北侧赤川的高区净水场的送水管输送11公里来到此地,提供市内西部地区的用水。
函馆的水道设施从创设以来一共进行了6次扩大工程,如今仍在为函馆市民提供洁净的用水。
函馆市
函館的自來水
函館的自來水系統完成於明治22年(1889年),是日本的第二個近代上下水道。日本最早的水道位於橫濱,是由外國人設計監督並於明治20年(1887年)完工。函館的水道因為是日本最早由日本人進行工程監督因此在國內聲名遠播。函館從前由於水利不便以及津輕海峽的突出地形全年風勢強勁,一旦發生火災往往蔓延成大火,犧牲人數眾多。再加上明治19年(1886年)時霍亂在市內流行,市民死亡人數達到842人,對於自來水建設的需求高漲,明治21年(1888年)時期盼已久的大項目終於開工。
此處是創設時所設立的「元町配水場」,從位於市街地北側赤川的高區淨水場的送水管輸送11公里來到此地,提供市內西部地區的用水。
函館的水道設施從創設以來一共進行了6次擴大工程,如今仍在為函館市民提供潔淨的用水。
函館市
น้ำประปาของฮาโกดาเตะ
น้ำประปาของฮาโกดาเตะ เป็นน้ำประปาสมัยใหม่ลำดับที่สองในญี่ปุ่นที่สร้างเสร็จในปีเมจิที่ 22 (ค.ศ.1889) น้ำประปาที่แรกในญี่ปุ่นคือ โยโกฮามา ออกแบบและกำกับการก่อสร้างโดยชาวต่างชาติ สร้างเสร็จเมื่อปีเมจิที่ 22 (ค.ศ.1887) หากเป็นน้ำประปาที่กำกับการก่อสร้างโดยชาวญี่ปุ่น ก็เป็นที่รู้กันดีทั่วประเทศว่าฮาโกดาเตะนั้นเป็นที่แรก ตั้งแต่อดีต ฮาโกดาเตะประสบปัญหาเรื่องน้ำ และยังมีลักษณะแผ่นดินที่ยื่นลงไปในช่องแคบทสึงารุ ทำให้ลมพัดแรงตลอดปี เมื่อเกิดไฟไหม้ ก็จะลุกลามเป็นวงกว้างได้ง่าย ทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ยิ่งไปกว่านั้น ในปีเมจิที่ 19 (ค.ศ.1886) ในเมืองได้เกิดโรคห่าระบาดครั้งใหญ่ ทำให้ชาวเมืองเสียชีวิตถึง 842 คน จึงเป็นเหตุให้ความต้องการสาธารณูปโภคเกี่ยวกับน้ำประปาเพิ่มสูงขึ้น ในปีเมจิที่ 21 (ค.ศ.1888) โปรเจคใหญ่ที่รอคอยจึงเริ่มลงมือก่อสร้าง
ที่นี่คือ "ที่ส่งน้ำโมโตะมาจิ" ที่มีบ่อส่งน้ำที่สร้างขึ้นตอนที่เริ่มก่อตั้ง ดำเนินการจ่ายน้ำไปยังเขตตะวันตกของเมือง โดยใช้น้ำที่ถูกส่งมาจากที่ส่งน้ำแห่งนี้ ด้วยท่อส่งน้ำยาว 11 กิโลเมตร จากโรงผลิตน้ำสะอาดโคคุของแม่น้ำอาคางาวะที่อยู่ทางด้านเหนือของตัวเมือง
โรงงานผลิตน้ำประปาฮาโกดาเตะ ดำเนินการก่อสร้างขยายถึงหกครั้ง นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งขึ้น และกำลังจัดหาน้ำสะอาดให้แก่ประชาชนในฮาโกดาเตะ