北海道写真発祥の地碑
ホッカイドウシャシンハッショウノチヒ
(表)
北海道写真発祥之地
(裏)
木津幸吉翁は越後新発田の人 安政の末函館に来り仕立屋を業としたがロシヤ領事より写真の術を学び 元治元年(一八六四)その頃新地新町と呼んだ船見町九十番地に北海道最初の写真場を開いた 我が国最初の写真師上野彦馬の創業に遅れること僅か二年であった 今年は恰も百年に当るのでこの碑を建てこれを記念する
昭和三十九年六月一日 青木肇
社団法人 日本写真文化協会北海道連合会
この碑は、昭和39(1964)年に、社団法人日本写真文化協会北海道連合会が建てたものである。碑文によれば、ロシア領事から写真術を学んだ木津孝吉(幸吉)が、元治元(1864)年に写真場を開いてから百年目を記念して建てたとあるが、木津の開業年はいまだ詳らかではない。
とはいえ、明治以前に開業していたことは間違いなく、文久2年(1862)年に日本で初めて開業した長崎の上野彦馬や横浜の下岡蓮杖から遅れること、わずか数年である。
北海道写真発祥の地が函館だったのは、ここが開港場であり、西欧の新技術をいち早く取り入れられたからに他ならない。
なお、木津幸吉のほか、四本研造と横山松三郎も初期の函館写真界にとって、重要な役割を果たした人物である。
函館市
北海道写真发祥之地碑
此碑由社团法人日本写真文化协会北海道联合会建于昭和39年(1964年)。
碑文中记载道"从俄罗斯领事学到照片拍摄技术的木津孝吉(幸吉)于元治元年(1864年)为纪念写真场开业百年纪念而建",但是木津的开业年分至今仍是个谜。
虽说如此,但开业于明治之前是毋庸置疑的,仅仅比文久2年(1862年)长崎的上野马和横滨的下岗莲杖晚了数年。
北海道写真发祥之地之所以会在函馆,是因为这里是开港之地,西欧新技术最早传入而致的必然结果。
除了木津幸吉之外,田本研造和横山松三郎也是函馆写真界初期的重要人物。
函馆市
北海道寫真發祥之地碑
此碑由社團法人日本寫真文化協會北海道聯合會建於昭和39年(1964年)。
碑文中記載道"從俄羅斯領事學到照片拍攝技術的木津孝吉(幸吉)於元治元年(1864年)為紀念寫真場開業百年紀念而建",但是木津的開業年分至今仍是個謎。
雖說如此,但開業於明治之前是毋庸置疑的,僅僅比文久2年(1862年)長崎的上野馬和橫濱的下崗蓮杖晚了數年。
北海道寫真發祥之地之所以會在函館,是因為這裡是開港之地,西歐新技術最早傳入而致的必然結果。
除了木津幸吉之外,田本研造和橫山松三郎也是函館寫真界初期的重要人物。
函館市
อนุสาวรีย์ถิ่นกำเนิดภาพถ่ายฮอกไกโด
อนุสาวรีย์แห่งนี้สร้างขึ้นในปีโชวะที่ 39 (ค.ศ.1964) โดยสมาคมวัฒนธรรมภาพถ่ายแห่งญี่ปุ่น สหพันธ์ฮอกไกโด
ตามคำจารึก "สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกครบรอบ 100 ปี นับตั้งแต่คิซึ โคคิจิ (โค(幸)คิจิ(吉)) ที่ศึกษาการถ่ายภาพจากกงสุลรัสเซีย เปิดสตูดิโอถ่ายภาพ ในปีเก็นจิที่ 1 (ค.ศ.1864)" แต่ไม่ปรากฏชัดเจนว่าคิซึเปิดกิจการในปีใด
อย่างไรก็ตาม เขาเปิดกิจการก่อนสมัยเมจิอย่างแน่นอน และเปิดช้ากว่าเพียงไม่กี่ปีต่อจาก อุเอะโนะ ฮิโคะมะของนางาซากิ และ ชิโมะโอกะ เรนโจของโยโกฮามา ที่เปิดกิจการครั้งแรกในญี่ปุ่น ในปีบุงคิวที่ 2 (ค.ศ.1862)
การที่ฮาโกดาเตะเป็นถิ่นกำเนิดของการถ่ายภาพของฮอกไกโด ก็เพราะที่นี่เป็นที่เปิดท่าเรือ และรับเข้าเทคโนโลยีใหม่ๆ ของตะวันตกได้เร็วกว่าที่อื่น
อนึ่ง นอกจากคิซึ โคคิจิแล้ว ทะโมโตะ เคนโซ และ โยโกยามะ มัตสึซาบุโร ก็เป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญในวงการภาพถ่ายของฮาโกดาเตะในชั่วแรกเช่นกัน
「いしぶみ」西部編(函館市役所土木部公園緑地課 1982年)、「函館市史資料集」第46集(函館市史編纂委員会)、『函館市史』通説編第1巻(函館市 1980年)、「函館写真史考(上)」(桑嶋洋一)『地域史研究はこだて』第17号(函館市 1993年)所収