中島三郎助父子最後之地
ナカジマサブロウスケサイゴノチ
(表)
中島三郎助父子最後之地
函館市長 矢野康書
(裏)
昭和四十九年五月十六日
記念碑建立期成会
大釜仙蔵
藤野藤太郎
相沢勝三郎
木村清満
中島三郎助父子最後の地
中島三郎助は浦賀奉行配下の役人であったが、安政2年(1855年)に幕府が創設した長崎海軍伝習所の第一期生となり、3年後には軍艦操練所教授方となった。
維新後、明治元年(1868年)10月、彼は榎本武揚と行動を共にし、軍艦8隻を率いて北海道に来た。箱館戦争では、五稜郭の前線基地であった千代ヶ岡陣屋の隊長として、浦賀時代の仲間とともに守備についた。
新政府軍は箱館を制圧すると、降伏勧告をしたが、中島はそれを謝絶して戦闘を続け、明治2年(1869)5月16日に長男恒太郎や次男英次郎と共に戦死した。「ほととぎす われも血を吐く思い哉」という辞世の句を残した。
昭和6年(1931年)に、中島父子にちなんで、千代ヶ岡陣屋のあったゆかりの地が中島町と名付けられた。
函館市
中島三郎助は浦賀奉行配下の役人であったが、安政2(1855)年に幕府が創設した長崎海軍伝習所の第一期生となり、3年後には軍艦操練所教授方となった。
維新後、明治元(1868)年10月、彼は榎本武揚と行動を共にし、軍艦8隻を率いて北海道に来た。箱館戦争では、五稜郭の前線基地であった千代ヶ岡陣屋の隊長として、浦賀時代の仲間とともに守備についた。
新政府軍は箱館を制圧すると、降伏勧告をしたが、中島はそれを謝絶して戦闘を続け、5月16日に長男恒太郎や次男英次郎と共に戦死した。「ほととぎす われも血を吐く 思い哉」という辞世の句を残した。
昭和6(1931)年に、中島父子を記念して千代ヶ岡陣屋のあったゆかりの地が中島町と名付けられた。
函館市
中岛三郎助父子最后之地
中岛三郎助曾是浦贺奉行所属的官员,但于安政2年(1855年)成为幕府创设的长崎海军传习所的第一期学生,并于三年后成为了军舰操练所的教授。
维新之后,明治元年(1868年)10月,他与榎本武扬共进退,率领八艘军舰来到北海道。在箱馆战争中作为五棱郭前线基地千代冈兵营的队长,与浦贺时代的伙伴一起担任守备之责。
新政府军控制函馆之后曾经劝降中岛,但他拒绝投降仍继续迎战。明治2年(1869年)5月16日中岛与长子恒太郎和次子英次郎共同战死沙场,并留下“ほととぎす われも血を吐く思い哉 (杜鹃鸟 吾欲呕血与君同哉)”的辞世金句。
昭和6年(1931年)为了纪念中岛父子,给千代冈兵营附近的因缘之地取名为中岛町。
函馆市
中島三郎助父子最後之地
中島三郎助曾是浦賀奉行所屬的官員,但於安政2年(1855年)成為幕府創設的長崎海軍傳習所的第一期學生,並於三年後成為了軍艦操練所的教授。
維新之後,明治元年(1868年)10月,他與榎本武揚共進退,率領八艘軍艦来到北海道。在箱館戰爭中作為五稜郭前線基地千代岡兵營的隊長,與浦賀時代的夥伴一起擔任守備之責。
新政府軍控制函館之後曾經勸降中島,但他拒絕投降仍繼續迎戰。明治2年(1869年)5月16日中島與長子恒太郎和次子英次郎共同戰死沙場,並留下"ほととぎす われも血を吐く思い哉 (杜鵑鳥 吾欲嘔血與君同哉)"的辭世金句。
昭和6年(1931年)為了紀念中島父子,給千代岡兵營附近的因緣之地取名為中島町。
函館市
สถานที่สุดท้ายของนากาจิมะ ซาบุโรสุเกะและบุตร
นากาจิมะ ซาบุโรสุเกะ เป็นเจ้าหน้าที่สังกัดอุรางะบุเกียว แต่กลายเป็นบัณฑิตคนแรกของสถาบันฝึกอบรมทหารเรือนางาซากิ ที่ก่อตั้งโดยรัฐบาลบากุฟุ ในปีอันเซที่ 2 (ค.ศ.1855) และสามปีให้หลัง ก็กลายเป็นอาจารย์ด้านการฝึกอบรมการบังคับเรือรบ
หลังการปฎิรูปเมจิ ในเดือนตุลาคม ปีเมจิที่ 1 (ค.ศ.1868) เขาทำงานร่วมกับเอโนะโมโตะ ทาเคะอากิ นำเรือรบ 8 ลำมาที่ฮอกไกโด ในช่วงสงครามฮาโกดาเตะ เขารับหน้าที่คุ้มกันร่วมกับเพื่อนๆ ของเขาในสมัยอุรางะ ในหัวหน้าทีมจินยะ(จวน ที่ว่าการ) ชิโยะงาโอกะ ที่ฐานทัพแนวหน้าของป้อมรูปดาวโกะเรียวคาคุ
เมื่อกองกำลังรัฐบาลใหม่เข้ายึดครองฮาโกดาเตะ พวกเขาจึงต้องยอมจำนน แต่นากาจิมะปฏิเสธและทำสงครามต่อไป จนกระทั่งเสียชีวิตพร้อมกับลูกชายคนโต โคทาโร และคนรอง เอจิโร ในวันที่ 16 พฤษภาคม ปีเมจิที่ 2 (ค.ศ. 1869) ทิ้งกลอนลาโลกไว้ว่า "โฮโทโทงิสึ วาเระโมะ จิ โอะ ฮาคุ โอะโมอิ นาริ (เจ้านกโฮโทโทงิสึ ข้าก็รู้สึกเหมือนแทบจะกระอักเลือด)"
ในปีโชวะที่ 6 (ค.ศ.1931) ตั้งชื่อสถานที่ที่เคยเป็นจินยะ(จวน ที่ว่าการ) ชิโยะงาโอกะ ว่าตำบลนากาจิมะ ตามชื่อพ่อลูกตระกูลนากาจิมะ
「いしぶみ」(函館市役所土木部公園緑地課 1983年)