弁天岬台場跡

ベンテンミサキダイバアト

■解説

弁天岬台場跡

西洋列強からの圧力が増してきた江戸末期に、幕府は蝦夷地を2度目の直轄領とした。安政元年(1854年)、箱館奉行竹内下野守と堀織部正は、箱館の警備について幕府へ上申し、弁天岬台場を築造することになった。
台場は、安政3年(1856年)、10万両の予算で、現在の函館どつくの一角に着工された。設計・監督は五稜郭と同じ武田斐三郎によるもので、不等辺六角形(周囲約684m、面積約32,340㎡)をした台場は、元治元年(1864年)に完成した。
この台場が実際に使われたのは、箱館戦争の時であった。台場を占拠した旧幕府脱走軍は、新政府軍と砲戦を展開したが、新政府軍に圧倒され、明治2年(1869年)5月15日、台場に籠城していた箱館奉行永井玄蕃ほか約240名全員が降伏した。
台場はその後、弁天砲台として陸軍省の所轄となり、函館砲隊が守備していた。明治29年(1896年)、港湾改良のために取り壊されて周囲が埋め立てられたので、今は昔の姿を知ることができない。
函館市

■観光説明板

西洋列強からの圧力が増してきた江戸末期に、幕府は蝦夷地を2度目の直轄領とした。安政元(1854)年、箱館奉行竹内下野守と堀織部正は、箱館の警備について幕府へ上申し、弁天岬台場を築造することになった。
台場は、安政3年、10万両の予算で、現在の函館どつくの一角に着工された。設計・監督は五稜郭と同じ武田斐三郎によるもので、不等辺六角形(周囲約684m、面積約32,340㎡)をした台場は、元治元(1864)年に完成した。
この台場が実際に使われたのは、箱館戦争の時であった。台場を占拠した旧幕府脱走軍は、新政府軍と砲戦を展開したが、新政府軍に圧倒され、明治2(1869)年5月15日、台場に籠城していた箱館奉行永井玄蕃ほか約240名全員が降伏した。
台場はその後、弁天砲台として陸軍省の所轄となり、函館砲隊が守備していた。明治29(1896)年、港湾改良のために取り壊されて周囲が埋め立てられたので、今は昔の姿を知ることができない。

函館市

描述

弁天岬砲台遗迹

江户末期,在西洋列强不断施与压力的背景之下,幕府第2次将虾夷地区列为直辖。安政元年(1854年),箱馆奉行的竹内下野守跟堀织部正将箱馆的战备情形上报给幕府,而后建造了弁天岬砲台。
砲台在安政3年(1856年)时以10万两的预算在如今的函馆造船厂一隅开始施工。设计、监督与五稜郭同为武田斐三郎,不等边六角形(外围约684米、面积约32,340平方米)的砲台于元治元年(1864年)完工。
这个砲台实际开始使用于箱馆战争之际。旧幕府脫走军(因为拒绝投降而离开的旧幕府军分支)占领砲台之后与新政府军展开炮战但仍被新政府军击溃,明治2年(1869年)5月15日,困守于砲台之中的箱馆奉行永井玄藩与其他约240人全部投降。
而后更名为弁天砲台,属陆军省管辖并由函馆砲队守备。明治29年(1896年),由于港湾改良的原因遭到拆除,如今已无法一览当年雄风。
函馆市

描述

弁天岬砲台遺跡

江戶末期,在西洋列強不斷施與壓力的背景之下,幕府第2次將蝦夷地區列為直轄。安政元年(1854年),箱館奉行的竹內下野守跟堀織部正將箱館的戰備情形上報給幕府,而後建造了弁天岬砲台。
砲台在安政3年(1856年)時以10萬兩的預算在如今的函館造船廠一隅開始施工。設計・監督與五稜郭同為武田斐三郎,不等邊六角形(外圍約684公尺、面積約32,340平方公尺)的砲台於元治元年(1864年)完工。
這個砲台實際開始使用於箱館戰爭之際。舊幕府脫走軍(拒絕受降的舊幕府軍)佔據砲台之後與新政府軍展開炮戰但仍被新政府軍擊潰,明治2年(1869年)5月15日,困守於砲台之中的箱館奉行永井玄藩與其他約240人全部投降。
而後更名為弁天砲台,屬陸軍省管轄並由函館砲隊守備。明治29年(1896年),由於港灣改良的原因遭到拆除,如今已無法一覽當年雄風。
函館市

คำอธิบาย

ซากป้อมปราการที่แหลมเบนเต็น

ในช่วงปลายสมัยเอโดะ ที่แรงกดดันจากมหาอำนาจตะวันตกเพิ่มมากขึ้น รัฐบาลบากุฟุ เข้ายึดภูมิภาคเอโสะ (ชื่อเรียกภูมิภาคที่เป็นที่อยู่อาศัยของชนเผ่าไอนุ) เป็นครั้งที่สอง ในปีอันเซที่ 1 (ค.ศ.1854) ฮาโกดาเตะบุเกียว ทาเคะอุจิ ชิโมะทสึเคะโนะคามิ และ โฮริโอะริเบะโนะโช ได้ส่งหนังสือร้องเรียนไปยังรัฐบาลบากุฟุ เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของฮาโกดาเตะ จึงตัดสินใจสร้างป้อมปราการขึ้นที่แหลมเบนเต็น
ป้อมปราการ เริ่มสร้างในปีอันเซที่ 3 (ค.ศ.1856) ขึ้นที่มุมหนึ่งของท่าเรือฮาโกดาเตะในปัจจุบัน มีงบประมาณในการสร้าง 100,000 เรียว ออกแบบและกำกับการก่อสร้างโดยทาเคดะ อายะซาบุโร เช่นเดียวกับป้อมรูปดาว โกะเรียวคาคุ ป้อมปราการรูปหกเหลี่ยมด้านไม่เท่า (ระยะโดยรอบประมาณ 684 เมตร, พื้นที่ 32,340 ตร.ม.) สร้างแล้วเสร็จในปีเก็นจิที่ 1 (ค.ศ.1864)
ป้อมปราการแห่งนี้ ถูกใช้จริงตอนสงครามฮาโกดาเตะ กองทัพผู้หลบหนีรัฐบาลบากุฟุเก่าเข้ายึดเป็นที่มั่น และยิงปืนใหญ่ต่อสู้กับกองทัพรัฐบาลใหม่ แต่สู้ไม่ได้ จนเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ปีเมจิที่ 2 (ค.ศ.1869) ฮาโกดาเตะบุเกียว นะไกอิ เกมบะและพวกประมาณ 240 คน ที่เข้าล้อมป้อมปราการจึงยอมแพ้
ต่อมาภายหลัง ป้อมปราการอยู่ภายใต้สังกัดกระทรวงทหารบก ในฐานะป้อมปืนใหญ่เบนเต็น กองกำลังปืนใหญ่ฮาโกดาเตะเป็นผู้ปกป้อง ในปีเมจิที่ 29 (ค.ศ.1896) ถูกรื้อทิ้งและถมที่โดยรอบเพื่อดำเนินการปรับปรุงอ่าวท่าเรือ ปัจจุบัน จึงไม่สามารถทราบรูปลักษณ์ในอดีตได้

大エリア 函館市
小エリア 西部地区
所在地函館市入舟町6(児童公園内)
制作時代 近世
主題時代 近世, 明治
カテゴリ 未分類