咬菜園跡
コウサイエンアト
咬菜園跡
安政4年(1857年)、名主で慈善家として知られた堺屋新三郎が、箱館奉行から1,140余坪(約3,770㎡)の土地の払い下げを受けてここに庵を作り、各地の名花、名木を移植したので四季折々の美しい花が咲き乱れ、当時の住民は箱館第一の名園として親しんだ。
咬菜とは粗食のことで、五稜郭設計監督の蘭学者、武田斐三郎が名付親である。
明治2年(1869年)、箱館戦争時、榎本軍(旧幕府脱走軍)に追討令が下り、新政府軍艦が品川を出港したとの報に接した榎本武揚は、同年3月14日幹部6人と共に、今宵最後と一夜の清遊をこの咬菜園で試みた。
明治2年(1869年)、箱館戦争時、榎本軍(旧幕府脱走軍)に追討令が下り、新政府軍艦が品川を出港したとの報に接した榎本武揚は、同年3月14日幹部6人と共に、今宵最後と一夜の清遊をこの咬菜園で試みた。
同年5月16日、三郎助は五稜郭の前線基地千代ヶ岡陣屋(現中島町)で最後まで降伏を拒み、長男恒太郎(22歳)、次男英次郎(19歳)ともども壮烈な戦死を遂げた。
函館市
安政4年(1857年)名主で慈善家として知られた堺屋新三郎が、箱館奉行から1140余坪(約3770㎡)の土地の払い下げを受けてここに庵を作り、各地の名花、名木を移植したので四季折々の美しい花が咲き乱れ、当時の住民は箱館第一の名園として親しんだ。
咬菜とは粗食のことで、五稜郭設計監督の蘭学者、武田斐三郎が名付親である。
明治2年(1869年)箱館戦争時、追討令が下り、新政府軍艦が品川を出港したとの報に接した榎本軍(旧幕府脱走軍)総裁榎本武揚は同年3月14日幹部6人と共に、今宵最後と一夜の清遊をこの咬菜園で試みた。
箱館奉行並中鳥三郎助は、俳人としても知られ、数多くの秀作があるが、「ほととぎす われも血を吐く思い哉」「われもまた 死士と呼ばれん白牡丹」の辞世の句などはこの時残したものである。
同年5月16日、三郎助は五稜郭の前線基地千代ヶ岡陣屋(現中島町)で最後まで降伏を拒み、長男恒太郎(22歳)次男英次郎(19歳)ともども壮烈な戦死を遂げた。
函館市
咬菜园遗迹
安政4年(1857年),知名慈善家堺屋新三郎从箱馆奉行买下1,140多坪(约3,770平方米)的土地创立庵居,由于从各地移植名花名木因此四季皆有繁花美景相伴,作为箱馆第一名园而广受当时的住民喜爱。
咬菜意指粗食,由五稜郭设计监督的西方学者武田斐三郎亲自命名。
明治2年(1869年)箱馆战争之际,榎木武扬接到新政府下达榎本军(因为不愿随幕府投降而离开的分支部队)讨伐令,军舰已从品川出港的战报后,在同年的3月14日与干部6人一同前来咬菜园享受最后的宁静。
作为箱馆奉行并(军政要职)的中岛三郎助同时也是位知名的诗人,在众多优秀的作品中,「ほととぎす われも血を吐く思い哉」(杜鹃鸟 吾欲呕血与君同哉) 、「われもまた 死士と唿ばれん白牡丹」(吾为被称作死士的白牡丹)等辞世诗句皆为此时留下。
同年5月16日,三郎助死守五稜郭的前线基地千代冈阵屋(现中岛町)拒绝受降,与长男恒太郎(22岁)、次男英次郎(19岁)一同在战场上壮烈牺牲。
函馆市
咬菜園遺跡
安政4年(1857年),知名慈善家堺屋新三郎從箱館奉行買下1,140多坪(約3,770平方公尺)的土地創立庵居,由於從各地移植名花名木因此四季皆有繁花美景相伴,作為箱館第一名園而廣受當時的住民喜愛。
咬菜意指粗食,由五稜郭設計監督的西方學者武田斐三郎親自命名。
明治2年(1869年)箱館戰爭之際,榎木武揚接到新政府下達榎本軍(因為拒絕追隨幕府投降而離開的舊幕府脫走軍)討伐令且軍艦已從品川出港的戰報後,在同年的3月14日與幹部6人一同前來咬菜園享受最後的寧靜。
作為箱館奉行並(軍政要職)的中島三郎助同時也是位知名的詩人,在眾多優秀的作品中,「ほととぎす われも血を吐く思い哉 」(杜鵑鳥 吾欲嘔血與君同哉) 、「われもまた 死士と呼ばれん白牡丹」(吾為被稱作死士的白牡丹)等辭世詩句皆為此時留下。
同年5月16日,三郎助死守五稜郭的前線基地千代岡陣屋(現中島町)拒絕受降,與長男恒太郎(22歲)、次男英次郎(19歲)一同在戰場上壯烈犧牲。
函館市
ซากสวนโคไซเอ็น
ปีอันเซที่ 4 (ค.ศ.1857) ซาไกยะ ชินซาบุโร ผู้ซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ใหญ่บ้านและผู้ใจบุญ ได้รับที่ดินจากฮาโกดาเตะบุเกียว จำนวน 1,140 ทสึโบะ(ประมาณ 3,770 ตร.ม.) และสร้างกระท่อมขึ้นที่นี่ ย้ายต้นไม้และดอกไม้ที่ขึ้นชื่อมาปลูก ทำให้มีดอกไม้หลากชนิดบานสะพรั่งตลอดสี่ฤดู เป็นสวนขึ้นชื่ออันดับหนึ่งที่ชาวเมืองฮาโกดาเตะในสมัยนั้นใช้พักผ่อนหย่อนใจ
โคไซ หมายถึง อาหารที่เรียบง่าย ผู้ที่ตั้งชื่อคือ ทาเคดะ อายะซาบุโร นักวิชาการด้านการศึกษาตะวันตกที่เป็นผู้ออกแบบและกำกับการก่อสร้างป้อมรูปดาวโกะเรียวคาคุ
ปีเมจิที่ 2 (ค.ศ. 1869) ตอนสงครามฮาโกดาเตะ มีคำสั่งให้ตามล่ากองทัพเอะโนะโมโตะ (กองทัพทหารที่หนีทัพรัฐบาลบากุฟุเดิม) เอะโนะโมโตะ ทาเคะอากิที่ได้รับรายงานว่าเรือรบของรัฐบาลใหม่ ออกจากท่าเรือชินางาวะ วันที่ 14 มีนาคมปีเดียวกัน เขาจึงออกไปเที่ยวส่งท้ายที่สวนโคไซเอ็นแห่งนี้ พร้อมกับแกนนำ 6 คน
ฮาโกดาเตะบุเกียว นาคาจิมะ ซาบุโรสุเกะ ซึ่งเป็นที่รู้จักว่าเป็นกวีไฮกุ ที่มีผลงานยอดเยี่ยมมากมาย ได้เขียนไฮกุลาตายทิ้งไว้ว่า "นกโฮโทโทกิสึ ฉันรู้สึกเหมือนจะกระอักเลือด" "เราก็เหมือนดอกโบตั๋นสีขาว ที่อาจถูกเรียกว่าเป็นทหารที่พร้อมจะตาย"
วันที่ 16 พฤษภาคม ปีเดียวกัน ที่ชิโยะงาโอกะ (ปัจจุบันคือตำบลนากาจิมะ) ซึ่งเป็นฐานที่มั่นก่อนป้อมรูปดาว โกะเรียวคาคุ ซาบุโรสุเกะ ปฏิเสธที่จะยอมแพ้จนถึงนาทีสุดท้าย ได้เสียชีวิตในสงครามพร้อมกับบุตรชายคนโต โคทาโร (อายุ 22 ปี) และบุตรชายคนรอง เอจิโร (อายุ 19 ปี)