己巳役海軍戦死碑

キシノエキカイグンセンシヒ

hako098

■解説

己巳役海軍戦死碑

ここは、明治2年(1869年)の箱館戦争で戦死した新政府海軍慰霊の墓所である。同年4月、討伐体制を整えた新政府軍は、旧幕府脱走軍に攻撃を開始し、5月11日箱館湾海戦で新政府軍軍艦「朝陽」は、旧幕府脱走軍軍艦「蟠龍」の砲弾を受けて沈没した。
この石碑には、朝陽艦副艦長夏秋又之助以下73名の新政府軍海軍の戦死者名が刻まれている。建立年月は記されていないが、明治2年(1869年)に建立されたものと思われる。
碑の石は、「高田屋の亀石」と呼ばれていた石の一部であり、高田屋嘉兵衛全盛のころ、現宝来町に築かれた「高田屋御殿」と呼ばれた豪邸の庭園に据えられていたものである。
嘉兵衛が、貧民救済の目的をかねて住吉浜の海中にあった2畳敷ほどの巨石を多数の人を動員して引き揚げさせたところ、亀に似ていたので亀石と呼ばれた。
函館護國神社(青柳町)にある「海陸軍戦死人名」碑と「招魂場」碑も同じ亀石を割って作られたものであり、いずれも箱館戦争新政府軍戦没者を祀った記念碑である。
函館市

描述

己巳役海军战死碑

这里是明治2年(1869年)箱馆战争中战死的新政府海军慰霊之墓。同年4月整备妥当讨伐体制的新政府军开始进攻旧幕府脱走军(因为不愿随幕府投降而离开的分支部队),5月1日在箱馆湾海战中新政府军军舰朝阳号遭到旧幕府脱走军军舰蟠龙号砲击沉没。
此石碑上刻有朝阳舰副舰长夏秋又之助其下73名新政府军海军战死者的名字,虽没有记载建立日期,推测建于明治2年(1869年)。
碑石是曾在高田屋嘉兵卫全盛时期,置放于现今宝来町“高田屋御殿”豪宅庭院中,被称为“高田屋龟石”的一部分。
嘉兵卫曾经兼具救助贫民为目的,动员多人打捞住吉滨的海中巨石,因为此石形似乌龟而被称作龟石。
函馆护国神社(青柳町)的“海陆军战死人名”碑和“招魂场 ”碑也同样是切割龟石做成,两者皆为祭奠箱馆战争新政府军战死者的纪念碑。
函馆市

描述

己巳役海軍戰死碑

這裡是明治2年(1869年)箱館戰爭中戰死的新政府海軍慰霊之墓。同年4月整備妥當討伐體制的新政府軍開始進攻舊幕府脫走軍(拒絕受降的舊幕府軍),5月1日在箱館湾海戰中新政府軍軍艦朝陽號遭到幕府脫走軍軍艦蟠龍號砲擊沉沒。
此石碑上刻有朝陽艦副艦長夏秋又之助其下73名新政府軍海軍戰死者的名字,雖沒有記載建立日期,推測建於明治2年(1869年)。
碑石是曾在高田屋嘉兵衛全盛時期,置放於現今寶來町「高田屋御殿」豪宅庭院中,被稱為「高田屋龜石」的一部分。
嘉兵衛曾經兼具救助貧民為目的,動員多人打撈住吉濱的海中巨石,因為此石形似烏龜而被稱作龜石。
函館護國神社(青柳町)的「海陸軍戰死人名」碑和「招魂場 」碑也同樣是切割龜石做成,兩者皆為祭奠箱館戰爭新政府軍戰死者的紀念碑。
函館市

คำอธิบาย

อนุสาวรีย์รำลึกทหารเรือที่เสียชีวิตจากสงครามคิชิโนะเอคิ (อีกชื่อหนึ่งของสงครามฮาโกดาเตะ)

ที่นี่เป็นสุสานเพื่อไว้ทุกข์แก่ทหารเรือของรัฐบาลใหม่ ที่เสียชีวิตในสงครามฮาโกดาเตะ เมื่อปีเมจิที่ 2 (ค.ศ.1869) เดือนเมษายนปีเดียวกัน กองทัพรัฐบาลใหม่ที่ตั้งระบบปราบปราม ได้เริ่มโจมตีกองทัพทหารที่หนีทัพรัฐบาลบากุฟุเดิม และวันที่ 11 พฤษภาคม ในสมรภูมิรบทางทะเล เรือรบของกองทัพรัฐบาลใหม่ "โชโย" จมลง เพราะถูกลูกปืนของเรือรบของกองทัพทหารที่หนีทัพรัฐบาลบากุฟุเดิม "บันริว"
อนุสาวรีย์รำลึกนี้ สลักชื่อรองผู้บังคับการเรือโชโย ชื่อ นัทสึอากิ มาตะโนะสุเกะ และทหารเรือของกองทัพรัฐบาลใหม่ที่เสียชีวิต 73 นาย วันที่ก่อตั้งไม่ได้ถูกระบุไว้ แต่คาดว่าก่อตั้งเมื่อปีเมจิที่ 2 (ค.ศ.1869)
หินที่นำมาใช้ เป็นส่วนหนึ่งของหินที่เรียกว่า "ทาคาดะยะ โนะ คาเมะอิชิ (หินรูปเต่าของทาคาดะยะ" เป็นหินที่อยู่ในสวนของคฤหาสน์ที่มีชื่อว่า "ทาคาดะยะ โกะเต็น" ที่สร้างขึ้นที่ตำบลโฮไรในปัจจุบัน ในช่วงที่ทาคาดะยะ คะเฮรุ่งเรืองถึงขีดสุด
เมื่อคะเฮ ส่งคนจำนวนมากไปยกหินขนาดมหึมาขนาดประมาณ 2 เสื่อทาทามิ ที่อยู่ในทะเลชายหาดซึมิโยชิ เพื่อเป็นการช่วยเหลือคนยากจนด้วยในคราวเดียว หินก้อนนี้มีรูปร่างคล้ายเต่า จึงถูกเรียกว่า "คาเมะอิชิ (หินรูปเต่า)"
อนุสาวรีย์รำลึก "ชื่อทหารเรือผู้เสียชีวิตจากสงคราม" และ อนุสาวรีย์รำลึก "โชคงโจ" ที่ตั้งอยู่ในศาลเจ้าฮาโกดาเตะโกะโคคุ (ตำบลอาโอยางิ) ก็กระเทาะหินรูปเต่ามาทำ ซึ่งทั้งหมดเป็นอนุสาวรีย์รำลึกสำหรับทหารกองทัพรัฐบาลใหม่ผู้เสียชีวิตจากสงครามฮาโกดาเตะ

大エリア 函館市
小エリア 西部地区
所在地北海道函館市船見町6(元官修墓地)
制作時代 明治
主題時代 明治
カテゴリ 碑・像