東本願寺函館別院船見支院
ヒガシホンガンジハコダテベツインフナミシイン
東本願寺函館別院船見支院
船見支院は、日本最初の鉄筋コンクリート寺院として名高い元町の東本願寺函館別院の墓地を管理するため、明治37年(1904年)に建てられたもので、現在の建物は大正15年(1926年)に完成した。
この寺の墓地には、安政3年(1856年)幕府が箱館に設置した諸術調所(洋学の高等教育専門機関)の教授役で、五稜郭や弁天台場を設計監督した武田斐三郎の妻、美那子夫人の墓がある。
当時、箱館の町名主を勤め、内間町(現末広町)に雑貨店を開いていた小島又次郎(ペリー来航時の記録「亜墨利加一条写」の著者)の妹で、斐三郎が来箱した翌年の安政2年(1855年)に嫁いだが、8年後の文久3年(1863年)27歳の若さで病没した。
また、安政3年(1856年)日本最初の西洋型船「箱館丸」を建造した続豊治(明治13年82歳で没)のほか、明治期の函館発展に活躍した著名人の墓が多い。
函館市
船見支院は、日本最初の鉄筋コンクリート寺院として名高い元町の東本願寺函館別院の墓地を管理するため、明治37年(1904年)に建てられたもので、現在の建物は大正15年(1926年)に完成した。
この寺の墓地には、安政3年(1856年)幕府が箱館に設置した諸術調所(洋学の高等教育専門機関)の教授役で、五稜郭や弁天台場を設計監督した武田斐三郎の妻、美那子夫人の墓がある。
当時、箱館の町名主を勤め、内澗町(現末広町)に雑貨店を開いていた小島又次郎(ペリー来航時の記録「亜墨利加一条写」の著者)の妹で、斐三郎が来箱した翌年の安政2年(1855年)に嫁いだが、8年後の文久3年(1863年)27歳の若さで病没した。
また、安政3年(1856年)日本最初の西洋型船「籍館丸」を建造した続豊治(明治13年82歳で没)のほか、明治期の函館発展に活躍した著名人の墓が多い。
函館市
东本愿寺函馆别院船见支院
东本愿寺函馆别院作为日本最早的钢筋水泥寺庙而闻名,其中的船见支院是为了管理墓地之用而在明治37年(1904年)建造,现在的建筑物则完工于大正15年(1926年)。
本寺墓地葬有武田斐三郎的妻子--美那子夫人。武田斐三郎是五棱郭跟弁天砲台等处的设计监督并在安政3年(1856年)幕府设置于箱馆的诸术调所(西学的高等教育专门机关)担任教授一职。
作为当时箱馆的町名主并于内间町(现末广町)开设杂货店的小岛又次郎(纪录黑船来航事件“亚默利加一条写”的作者)之妹,在斐三郎来到箱馆的隔年安政2年(1855年)两人结婚,却在8年后的文久3年(1863年)年仅27岁时病逝。
除此之外还有安政3年(1856年)建造日本最早西洋型船“箱馆丸”的续丰治(明治13年82岁逝)等多位明治时期对函馆发展进行贡献的知名人物。
函馆市
東本願寺函館別院船見支院
東本願寺函館別院作為日本最早的鋼筋水泥寺廟而聞名,其中的船見支院是為了管理墓地之用而在明治37年(1904年)建造,現在的建築物則完工於大正15年(1926年)。
本寺墓地葬有武田斐三郎的妻子,美那子夫人。武田斐三郎是五稜郭跟弁天砲台等處的設計監督並在安政3年(1856年)幕府設置於箱館的諸術調所(西學的高等教育專門機關)擔任教授一職。
作為當時箱館的町名主並於內間町(現末廣町)開設雜貨店的小島又次郎(紀錄黑船來航事件「亞默利加一條寫」的作者)之妹,在斐三郎來到箱館的隔年安政2年(1855年)兩人結婚,卻在8年後的文久3年(1863年)年僅27歲時病逝。
除此之外還有安政3年(1856年)建造日本最早西洋型船「箱館丸」的續豐治(明治13年82歲逝)等多位明治時期對函館發展進行貢獻的知名人物。
函館市
วัดสาขาฟุนามิ ของวัดฮิงะชิฮงกันจิ ฮาโกดาเตะเบตสึอิน
วัดสาขาฟุนามิ ถูกสร้างขึ้นเมื่อปีเมจิที่ 37 (ค.ศ.1904) เพื่อควบคุมจัดการสุสานของวัดฮิงาชิฮงกันจิ ฮาโกดาเตะเบตสึอินอันของตำบลโมโตมาจิ ซึ่งเลื่องชื่อในฐานะที่เป็นเป็นวัดคอนกรีตเสริมเหล็กแห่งแรกในญี่ปุ่น อาคารในปัจจุบัน สร้างเสร็จเมื่อปีไทโชที่ 15 (ค.ศ.1926)
สุสานของวัดนี้มีหลุมฝังศพของ คุณนายมินาโกะ ภรรยาของทาเคะดะ อายะซาบุโร ซึ่งเป็นอาจารย์ของสถาบันศิลปะหลากแขนง (สถาบันเฉพาะทางการศึกษาระดับสูงของวิทยาการตะวันตก) ที่รัฐบาลบากุฟุตั้งขึ้นที่ฮาโกดาเตะ ในปีอันเซที่ 3 (ค.ศ.1856) และเป็นผู้ออกแบบและกำกับการก่อสร้างป้อมรูปดาวโกะเรียวคาคุ และป้อมปราการที่เบนเต็น
ในขณะนั้น มินาโกะเป็นน้องสาวของโคจิมะ มาตะจิโร ซึ่งเป็นผู้ใหญ่บ้านตำบลฮาโกดาเตะ (เป็นผู้แต่ง บันทึกการมาของเพอรี่ "สำเนาสนธิสัญญาอเมริกา") และเป็นเจ้าของร้านขายของจุกจิกที่ตำบลอุจิมะ (ตำบลซึเอะฮิโระในปัจจุบัน) หล่อนแต่งงานกับอายะซาบุโรในปีอันเซที่ 2 (ค.ศ.1855) ซึ่งเป็นปีถัดมาหลังจากที่อายะซาบุโรมาที่ฮาโกดาเตะ แต่ 8 ปีหลังจากนั้น ก็ป่วยและเสียชีวิตด้วยวัยเพียง 27 ปี ในปีบุงคิวที่ 3 (ค.ศ.1863)
นอกจากนี้ ยังมีหลุมฝังศพของผู้มีชื่อเสียงที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาฮาโกดาเตะในสมัยเมจิ เช่น ทสึสึกิ โทโยจิ (เสียชีวิตเมื่อปีเมจิที่ 13 ด้วยวัย 82 ปี) ที่สร้างเรือ "ฮาโกดาเตะมารู" ซึ่งเป็นเรือแบบตะวันตกลำแรกในญี่ปุ่น เมื่อปีอันเซที่ 3 (ค.ศ.1856)