函館検疫所台町措置場(旧函館消毒所)跡

ハコダテケンエキショダイマチソチジョウ(キュウハコダテケンエキショ)

■解説

函館検疫所台町措置場(旧函館消毒所)跡

明治18年(1885年)、内務省は防疫体制の強化を図るため、当時の主要6港(函館、横浜、神戸、下関、長崎、新潟) に日本で最初の常設消毒所を建設した。函館では現在地に施設が建てられ、唯一残ったこの建物は事務所として使用されたものである。
明治29年(1896年)3月、函館検疫所と改称され業務をおこなってきたが、特に昭和20年(1945年)には、敗戦による樺太方面などからの引揚者の検疫にあたり、医療や援護にと活躍した。
昭和43年(1968年)、検疫所は市内海岸町に落成した港湾合同庁舎内に移転し、平成4年(1992年)にこの施設は廃止された。
施設の中で唯一残ったこの事務所は、全国的にも数少ない初期港湾施設の遺構として、平成元年(1989年)に市の景観形成指定建築物となっている。
令和元年(2019年)、敷地の海側では、美しい夕日などが眺められることから、市民や観光客が景観を楽しむことができる場所を整備した。
函館市

■観光説明板

明治18年(1885年)、内務省は防疫体制の強化を図るため、当時の主要6港(函館、横浜、神戸、下関、長崎、新潟)に日本で最初の常設消毒所を建設しました。函館では現在地に施設が建てられ、唯一残ったこの建物は事務所として使用されたものです。
明治29年(1896年)3月、函館検疫所と改称され業務をおこなってきましたが、特に昭和20年(1945年)には、敗戦により樺太方面などからの引揚者の検疫にあたり、医療や援護にと活躍しました。
昭和43年(1968年)、検疫所は市内海岸町に落成した港湾合同庁舎内に移転し、平成4年にこの施設も廃止されました。
施設の中で唯一残ったこの事務所は、全国的にも数少ない初期港湾施設の遺構として、平成元年に市の景観形成指定建築物となっています。

函館市

描述

函馆检疫所台町措置场(旧函馆消毒所)遗迹

明治18年(1885年),内务省为了强化防疫体制,在当时的6个主要港口(函馆、横滨、神户、下关、长崎、新泻) 建立了日本最早的常设消毒所。函馆的设施当时建于此处,唯一留存下来的建筑物曾经被作为事务所使用。
明治29年(1896年)3月,改名为函馆检疫所并执行相关业务,特别是昭和20年(1945年)时为战败从桦太方面等处回国的人进行检疫,在医疗与援护方面也相当活跃。
昭和43年(1968年),检疫所移转到落成在市内海岸町的港湾合同厅舍,平成4年(1992年)时废止了这个设施。
设施当中唯一残留的这个事务所作为全国稀少的初期港湾设施遗迹,平成元年(1989年)时被指定为市的景观形成指定建筑物。
令和元年(2019年),由于建地靠海处可以欣赏美丽的夕阳,为了让市民和游客也可以共享景观而重新进行了整顿。
函馆市

描述

函館檢疫所台町措置場(舊函館消毒所)遺跡

明治18年(1885年),內務省為了強化防疫體制,在當時的6個主要港口(函館、橫濱、神戶、下關、長崎、新瀉) 建立了日本最早的常設消毒所。函館的設施當時建於此處,唯一留存下來的建築物曾經被作為事務所使用。
明治29年(1896年)3月,改名為函館檢疫所並執行相關業務,特別是昭和20年(1945年)時為戰敗從樺太方面等處回國的人進行檢疫,在醫療與援護方面也相當活躍。
昭和43年(1968年),檢疫所移轉到落成在市內海岸町的港灣合同廳舍,平成4年(1992年)時廢止了這個設施。
設施當中唯一殘留的這個事務所作為全國稀少的初期港灣設施遺跡,平成元年(1989年)時被指定為市的景觀形成指定建築物。
令和元年(2019年),由於建地靠海處可以欣賞美麗的夕陽,為了讓市民跟觀光客也可以共享景觀而重新進行了整頓。
函館市

คำอธิบาย

ที่ที่เคยเป็นสำนักงานกักกันฮาโกดาเตะ ไดมาชิ (สำนักงานฆ่าเชื้อโรคฮาโกดาเตะในอดีต)

เพื่อเสริมความแข็งแกร่งของมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดในปีเมจิที่ 18 (ค.ศ.1885) กระทรวงมหาดไทยได้จัดตั้งศูนย์ฆ่าเชื้อเป็นประจำขึ้นเป็นครั้งแรก ที่ท่าเรือสำคัญ 6 แห่งในสมัยนั้น (ฮาโกดาเตะ,  โยโกฮามา, โกเบ, ชิโมะโนะเซคิ, นางาซากิ, นีกาตะ) ที่ฮาโกดาเตะ ได้สร้างขึ้นในที่อยู่ปัจจุบัน อาคารที่เห็นหลงเหลืออยู่เพียงหลังเดียว เป็นอาคารที่ใช้เป็นสำนักงาน
ในเดือนมีนาคมปีเมจิที่ 29 (ค.ศ.1896) ศูนย์ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นสำนักงานกักกันฮาโกดาเตะและดำเนินงานตลอดมา จนกระทั่งช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองในปีโชวะที่ 20 (ค.ศ.1945) เมื่อแพ้สงคราม สำนักงานนี้มีบทบาทสำคัญในการรักษาแพทย์และการสนับสนุนด้านการกักกันและตรวจโรคในการส่งตัวกลับจากภูมิภาคคาราฟุโตะ(ซาคาลิน ประเทศรัสเซีย) มายังประเทศญี่ปุ่น
ในปีโชวะที่ 43 (ค.ศ.1968) สำนักงานกักกันฮาโกดาเตะ ได้ย้ายไปอยู่ในสำนักงานท่าเรือรวมของรัฐ ที่ตำบลไคงัน อำเภอฮาโกดาเตะ ที่เพิ่งสร้างเสร็จ และอาคารสำนักงานเดิมถูกรื้อถอนในปีเฮเซที่ 4 (ค.ศ.1992)
สำนักงานแห่งนี้ ที่เหลือเพียงหลังเดียว ตัวอาคารได้รับการกำหนดให้เป็นอาคารประวัติศาสตร์ของเมืองฮาโกดาเตะในปีเฮเซที่ 1 (ค.ศ.1989) และเป็นหนึ่งในมรดกสถาปัตยกรรมท่าเรือยุคแรกๆไม่กี่แห่งในประเทศญี่ปุ่น
ปีเรวะที่ 1 (ค.ศ.2019) ที่ดินของสำนักงานด้านฝั่งทะเล สามารถมองดูพระอาทิตย์อัสดงที่งดงามได้ ทางอำเภอฮาโกดาเตะจึงดำเนินการปรับปรุงเพื่อให้เป็นสถานที่ชมวิวสำหรับประชาชนในเมืองและนักท่องเที่ยว

大エリア 函館市
小エリア 西部地区
所在地函館市船見町23番
制作時代
主題時代 明治, 大正, 昭和
カテゴリ 未分類