宇須岸河野館跡

ウスケシコウノタテアト

■解説

宇須岸河野館跡

享徳3年(1454年)津軽の豪族安東政季に従って、武田信広(松前氏の始祖)、河野政通らが蝦夷地に渡来したと言う。
政通は、当時「宇須岸」と呼ばれていたこの地に「館」を築いた。これが「宇須岸河野館」で、その大きさは東西35間(約63m)、南北28間(約50m)と伝えられ、四方に土塁を築き、乾壕をめぐらしていたといわれる。この「河野館」に由来して、「箱館」という地名が生まれたと伝えられている。(明治2年「函館」と改称された。)
永正9年(1512年)アイヌとの抗争で、河野季通(政通の子)ら一族が敗れたため、箱館は以後百余年にわたって衰微したとの伝承が生まれた。
箱館は18世紀初頭(元禄時代末)から亀田川下流域からの住民の移住が増加、これに伴い相次いで寺院も移転し、箱館港の繁栄が顕著になっていった。次いで、寛保元年(1741年)には松前藩のこの地域の行政庁「亀田番所」が「河野館」跡地に移されて、繁栄への基礎が築かれた。
寛政11年(1799年)幕府は東蝦夷地を直轄地とし、享和2年(1802年)箱館奉行が置かれ、この地に箱館奉行庁舎も築かれ、箱館に拠点を据えた高田屋嘉兵衛の活躍などもあって大きく発展した。
この「河野館」跡は、箱館奉行庁舎が開かれた後も、明治に入ってからは開拓使庁舎、その後も北海道庁函館支庁庁舎が置かれる など,函館の行政の中心地であった。
函館市

描述

宇须岸河野馆遗迹

享德3年(1454年)跟随津轻的豪族安东政季,武田信广 (松前氏的始祖)、河野政通等人渡海来到虾夷地。
河野政通在当时被称作宇须岸 的地方假造了一座馆,此馆就是宇须岸河野馆,据说占地面积东西35间(约63米)、南北28间(约50米),并在四周构筑土垒、干壕。箱馆的地名就是从河野馆而来。(明治2年改称为函馆。)
永正9年(1512年)河野季通(政通之子)一族在与阿依努族的战斗中战败,相传箱馆也在之后的百年日渐衰微。
箱馆在18世纪初叶(元禄时代末)起,龟田川下流流域移居前来的居民增加的同时,寺院也相继迁址,箱馆港也明显日渐繁荣起来。宽保元年(1741年)松前藩在此地区设置的行政厅“龟田番所”迁至“河野馆”旧址,奠定了迈向繁盛的基础。
宽政11年(1799年)幕府将东虾夷地作为直辖地,享和2年(1802年)设置箱馆奉行,并在此地建设箱馆奉行厅舍,加上高田屋嘉兵卫的活跃,箱馆有了长足的发展。
河野馆遗迹在箱馆奉行厅舍设立之后,也先后做为开拓使厅舍、北海道厅函馆支厅厅舍等,一直都是函馆的行政中心。

描述

宇須岸河野館遺跡

享德3年(1454年)跟隨津輕的豪族安東政季,武田信廣 (松前氏的始祖)、河野政通等人渡海來到蝦夷地。
河野政通在當時被稱作「宇須岸 」的地方假造了一座「館」,此館就是「宇須岸河野館」,據說占地面積東西35間(約63公尺)、南北28間(約50公尺),並在四周構築土壘、乾壕。箱館的地名就是從河野館而來。(明治2年改稱為函館。
永正9年(1512年)河野季通(政通之子)一族在與阿依努族的戰鬥中戰敗,相傳箱館也在之後的百年日漸衰微。
箱館在18世紀初葉(元祿時代末)起,龜田川下流流域移居前來的居民增加的同時,寺院也相繼遷址,箱館港也明顯日漸繁榮起來。寛保元年(1741年)松前藩在此地區設置的行政廳「龜田番所」遷至「河野館」舊址,奠定了邁向繁盛的基礎。寬政11年(1799年)幕府將東蝦夷地作為直轄地,享和2年(1802年)設置箱館奉行,並在此地建設箱館奉行廳舍,加上高田屋嘉兵衛的活躍,箱館有了長足的發展。
河野館遺跡在箱館奉行廳舍設立之後,也先後做為開拓使廳舍、北海道廳函館支廳廳舍等,一直都是函館的行政中心。

 

คำอธิบาย

ที่ที่เคยเป็นโคโนะตาเตะที่อุสึเคะชิ

ปีเคียวโตคุที่ 3 (ค.ศ.1454) ทาเคดะ โนบุฮิโระ (ต้นตระกูลมัตสึมาเอะ) โคโนะ มาซามิจิเดินทางไปที่ภูมิภาคเอโสะ ตามมหาเศรษฐีของทสึงารุ อันโด มาซาสึเอะ
มาซามิจิ สร้าง "คฤหาสน์" ในสถานที่แห่งนี้ซึ่งถูกเรียกว่า "อุซึเคะชิ" ในเวลานั้น นี่คือ "คฤหาสน์อุสึเคะชิ โคโนะ" ซึ่งมีรายงานว่า จากตะวันออก - ตะวันตก 35 เคน (ประมาณ 63 เมตร) และจากเหนือ - ใต้ 28 เคน (ประมาณ 50 เมตร) ว่ากันว่ามีการสร้างผนังดินสี่ด้านและคูแล้งไปรอบ ๆ ว่ากันว่าชื่อสถานที่ "ฮาโก (箱) ดาเตะ (館)" มาจาก "โคโน (河野) ตาเตะ (館)" แห่งนี้ (ฮาโก (箱) ดาเตะ (館) เปลี่ยนไปใช้ตัวอักษร ฮาโก (函) แทนในปีเมจิที่ 2)
ในปีเอโชที่ 9 (ค.ศ.1512) ตระกูลโคโนะ สึเอะมิจิ (บุตรของมาซามิจิ) แพ้สงครามที่ทำกับชาวไอนุ  ทำให้เกิดเป็นตำนานที่ฮาโกดาเตะถดถอยนับแต่นั้นเป็นต้นมา นานกว่าร้อยปี
ตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 18 (ช่วงท้ายของยุคเก็นโรคุ) ในฮาโกดาเตะ ชาวเมืองย้ายที่อยู่จากบริเวณแม่น้ำคาเมดะตอนล่าง และทำให้วัดย้ายตามกันไปเรื่อย ๆ ทำให้ท่าเรือฮาโกดาเตะเจริญรุ่งเรืองขึ้นอย่างชัดเจน ในปีคัมโปที่ 1 (ค.ศ.1741) หน่วยงานบริหารของท้องถิ่นนี้ "คาเมะดะบันโชะ" ของแคว้นมัตสึมาเอะ ถูกย้ายไปยังที่ตั้งเดิมของ "โคโนะตาเตะ" เป็นการวางรากฐานสู่ความเจริญรุ่งเรือง
ในปีคันเซที่ 11 (ค.ศ.1799) รัฐบาลบากุฟุเข้าปกครองฝั่งตะวันออกของภูมิภาคเอโสะ ปีเคียววะที่ 2 (ค.ศ.1802) ตั้งฮาโกดาเตะบุเกียว และสร้างอาคารฮาโกดาเตะบุเกียว พร้อมกับที่ทาคาดะยะ คะเฮ ประสบความสำเร็จ จึงทำให้พัฒนาอย่างมาก
ที่ที่เคยเป็น "โคโนตาเตะ" นี้ เป็นจุดศูนย์กลางของการปกครองฮาโกดาเตะ หลังจากเปิดทำการอาคารฮาโกดาเตะบุเกียว หลังจากเข้าสู่ยุคเมจิ ได้เปิดอาคารสำนักงานบริหารฮาโกดาเตะอาคารสำหรับผู้บุกเบิก และอาคารสำนักงานเทศบาลจังหวัดฮอกไกโด สำนักงานสาขาฮาโกดาเตะเดิม

 

大エリア 函館市
小エリア 西部地区
所在地函館市弥生町2番
制作時代
主題時代 中世, 近世, 明治
カテゴリ 未分類