船魂神社
フナダマジンジャ
船魂神社
融通念仏宗を広めるため、良忍という高僧がこの地に来て、「ここは観音菩薩の霊跡である。」といい、保延元年(1135年)観音堂を建てたのがこの神社の始まりとされ、北海道最古ともいわれているが明らかではない。
また、「源義経が津軽から渡航したとき、遭難しそうになったところを船魂明神の加護で無事上陸した」などの伝説もあるが、もともとは観音菩薩を祀る観音堂と呼ばれていたらしい。
江戸時代末期に船魂大明神と称し、明治12年(1879年)に村社になり、船魂神社と改称した。
明治25年(1892年)に改築された社殿は、同40年(1907年)の大火で消失した後、一時、谷地頭町の函館八幡宮に神体を移していたが、昭和7年(1932年)に、この地に本殿を築いた。現在の建物は、同37年(1962年)に改築したものである。
函館市
融通念仏宗を広めるため、良忍という高僧がこの地に来て、「ここは観音菩薩の霊跡である。」といい、保延元年(1135年)観音堂を建てたのがこの神社の始まりとされ、北海道最古ともいわれているが明らかではない。
また、源義経が津軽から渡航したとき、遭難しそうになったところを船魂明神の加護で無事上陸したなどの伝説もあるが、もともとは観音菩薩を祭る観音堂と呼ばれていたらしい。
江戸時代末期に船魂大明神と称し、明治12年(1879年)に村社になり、船魂神社と改称した。
明治25年(1892年)に改築された社殿は、同40年(1907年)の大火で消失した後、一時、谷地頭町の函館八幡宮に神体を移していたが、昭和7年(1932年)この地に本殿を築いた。現在の建物は、同37年に改築したものである。
函館市
船魂神社
为了弘扬融通念佛宗,叫做良忍的高僧来到此地并声称这里有观音菩萨的灵迹。保延元年(1135年)建立的观音堂是这座神社的开端,相传是北海道最古老但并无查证。
除此之外,虽然有源义经从津轻渡海而来之际差点遭遇船难,由于船魂明神的保佑才能平安上岸等传说存在,但似乎还是被叫做祭祀观音菩萨的观音堂。
江户时代末期被称为船魂大明神,明治12年(1879年)时成为村社,称呼也改成船魂神社。
明治25年(1892年)时经过改建的社殿在明治40年(1907年)被大火烧毁后,神体曾经先暂时移到谷地头町的函馆八幡宫,直到昭和7年(1932年)时在此地建立本殿。现在的建筑物是明治37年(1962年)时所改建的。
函馆市
船魂神社
為了弘揚融通念佛宗,叫做良忍的高僧來到此地並聲稱「這裡有觀音菩薩的靈跡。」保延元年(1135年)建立的觀音堂是這座神社的開端,相傳是北海道最古老但並無查證。
除此之外,雖然有「源義經從津輕渡海而來之際差點遭遇船難,由於船魂明神的保佑才能平安上岸」等傳說存在,但似乎還是被叫做祭祀觀音菩薩的觀音堂。
江戶時代末期被稱為船魂大明神,明治12年(1879年)時成為村社,稱呼也改成船魂神社。
明治25年(1892年)時經過改建的社殿在明治40年(1907年)被大火燒毀後,神體曾經先暫時移到谷地頭町的函館八幡宮,直到昭和7年(1932年)時在此地建立本殿。現在的建築物是明治37年(1962年)時所改建的。
函館市
ศาลเจ้าฟุนะดามะ
เพื่อที่จะเผยแผ่ศาสนาพุทธนิกายสุขาวดีแขนงหนึ่งชื่อว่ายูซือเน็มบุตสึชู กล่าวกันว่ามีพระรูปหนึ่งนามว่าเรียวนิน มาที่นี่และพูดว่า "ที่นี่เป็นดินแดนศักดิ์สิทธิ์ของมหาโพธิสัตว์กวนอิม" และสร้างวิหารมหาโพธิสัตว์กวนอิมขึ้นในปีโฮเอ็นที่ 1 (ค.ศ.1135) ถือเป็นจุดเริ่มต้นของศาลเจ้าแห่งนี้ และเป็นศาลเจ้าที่เก่าแก่ที่สุดในฮอกไกโด แต่ก็ไม่มีการยืนยันที่ชัดเจน
นอกจากนี้ ยังมีตำนาน เช่น "เมื่อมินาโมโตะโนะ โยชิทสึเนะ เดินทางจากทสึงารุ (จังหวัดอาโอโมริ) มาที่นี่ เรือที่นั่งมาเกือบจะล่ม แต่เทพเจ้าฟุนะดามะคุ้มครองให้เข้าจอดโดยสวัสดิภาพ" ดูเหมือนว่าถูกเรียกว่า "คันนงโด" หรือวิหารเจ้าแม่กวนอิม ที่ประดิษฐานมหาโพธิสัตว์กวนอิม
ในตอนปลายสมัยเอโดะ ถูกเรียกว่าฟุนาดามะ ไดเมียวจิน และในปีเมจิที่ 12 (ค.ศ. 1879) กลายเป็นศาลเจ้าประจำหมู่บ้าน และเปลี่ยนชื่อเป็นศาลเจ้าฟุนะดามะ
ศาลเจ้าหลังที่ปรับปรุงใหม่ในปีเมจิที่ 25 (ค.ศ.1892) หลังจากที่ถูกเผาตอนไฟไหม้ครั้งใหญ่ในปีเมจิที่ 40 (ค.ศ.1907) ก็ได้ย้ายเทพเจ้าไปไว้ที่ฮาโกดาเตะฮาจิมังในตำบลยาจิกาชิระชั่วคราว ในปีโชวะที่ 7 (ค.ศ.1932) จึงสร้างศาลเจ้าหลังใหม่ขึ้นที่นี่ อาคารหลังปัจจุบัน เป็นอาคารที่ได้รับการปรับปรุงในปีโชวะที่ 37 (ค.ศ.1962)