東本願寺函館別院
ヒガシホンガンジハコダテベツイン
東本願寺函館別院
この寺院は、宝永6年(1709年)木古内町泉沢に建てられた堂宇が移され、浄玄寺と称したのが始まりで、安政5年(1858年)本願寺の掛所となった。その後、幾度かの火災に見舞われたが、明治9年(1876年)に東本願寺函館別院となり、現在地に移転したのは明治12年(1879年)のことである。
その後、明治40年(1907年)の大火に見舞われ、耐火建築により再建することになった。大正4年(1915年)完成した現在の本堂は、わが国最初の鉄筋コンクリート寺院として知られておリ、コンクリート造りではあるが、伝統的な本堂の形式を踏まえた造りになっている。建築当初、人々に踏まれた土砂で寺院が建てられるとは、ご先祖様に申し訳ないとか、大きな屋根が鉄筋やコンクリートでもつだろうかと不安の声が上がり、寄付金が思うように集まらなかった。そのため、芸者を高床に上げて手踊りをさせ、安心させたなどのエピソードもあり、苦心の末、完成にこぎつけたという。平成19年(2007年)12月4日、国の重要文化財に指定された。
函館市
东本愿寺函馆別院
本寺院始于宝永6年(1709年),建于木古内町泉泽的殿堂搬迁至此,当时被称为净玄寺。安正5年(1858年)成为本愿寺的别院住处。之后虽然经历几次火灾明治9年成为东本愿寺函馆别院,并且于明治12年(1879年)迁至此地。
之后在明治40年(1907年)遭受大火,防火建筑开始重建,大殿完成于大正4年(1915年),是日本最早的钢筋混凝土寺院。大殿虽然是钢筋混凝土建造,但是依然遵循着传统的大殿样式。修建当初人们认为使用被踩在脚下的土砂修建寺院是对先祖的不敬,对于是否可以承受硕大的钢筋混凝土屋顶的重量也很不安,所以并没有募集到预想的捐款数额。为了安抚人们的心情,还曾有请艺妓来表演的轶事,经过一番辛苦终于建成。平成19年(2007年)被指定为国家重要文化财产。
函馆市
東本願寺函館別院
本寺院始於寶永6年(1709年),建於木古内町泉澤的殿堂搬遷至此,當時被稱為淨玄寺。安正5年(1858年)成為本願寺的別院住處。之後雖然經歷幾次火災明治9年成為東本願寺函館別院,並且於明治12年(1879年)遷至此地。
之後在明治40年(1907年)遭受大火,防火建築開始重建,大殿完成於大正4年(1915年),是日本最早的鋼筋混凝土寺院。大殿雖然是鋼筋混凝土建造,但是依然遵循著傳統的大殿樣式。修建當初人們認為使用被踩在腳下的土砂修建寺院是對先祖的不敬,對於是否可以承受碩大的鋼筋混凝土屋頂的重量也很不安,所以並沒有募集到預想的捐款數額。為了安撫人們的心情,還曾有請藝妓來表演的軼事,經過一番辛苦終於建成。平成19年(2007年)被指定為國家重要文化財產。
函館市
วัดฮิงะชิฮงกันจิ ฮาโกดาเตะเบ็ตสึอิน
วัดแห่งนี้ เริ่มจากการย้ายวิหารที่ถูกสร้างขึ้นที่อิซูมิซาวะ ตำบลคิโคะไน เมื่อปีโฮเอที่ 6 (ค.ศ.1709) และถูกเรียกว่าโจเก็นจิ และกลายเป็นคาเคะโชของวัดฮงกันจิในปีอันเซที่ 5 (ค.ศ.1858) หลังจากนั้น เกิดไฟไหม้หลายครั้ง จนในปีเมจิที่ 9 (ค.ศ.1876) ได้กลายเป็นวัดฮิงะชิฮงกันจิฮาโกดาเตะเบ็ตสึอิน และย้ายมาตั้งในที่ปัจจุบันในปีเมจิที่ 12 (ค.ศ.1879)
หลังจากนั้น ถูกไฟไหม้ครั้งใหญ่เมื่อปีเมจิที่ 40 (ค.ศ.1907) และถูกสร้างขึ้นใหม่โดยมีโครงสร้างที่ทนไฟ โบสถ์ในปัจจุบันที่สร้างเสร็จในปีไทโชที่ 4 (ค.ศ.1915) เป็นที่รู้จักในนามวัดคอนกรีตเสริมเหล็กแห่งแรกของญี่ปุ่น สร้างแบบคอนกรีต แต่ยังคงรูปแบบดั้งเดิมของโบสถ์ไว้ ในช่วงเริ่มต้นของการก่อสร้าง การสร้างวิหารด้วยดินและทรายที่ผู้คนเหยียบย่ำ เป็นเรื่องที่ผิดต่อบรรพบุรุษ และมีเสียงห่วงว่าทำหลังคาขนาดใหญ่ขนาดนั้นด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กจะทนได้หรือไม่ ด้วยเหตุนี้จึงไม่สามารถรวบรวมเงินบริจาคได้ ดังนั้นจึงมีเรื่องเล่าว่า มีการยกพื้นสูง ให้เกอิชาขึ้นไปรำ เพื่อทำให้ชาวบ้านสบายใจ จนสร้างเสร็จได้ด้วยความยากลำบาก ในวันที่ 4 ธันวาคม ปีเฮเซที่ 19 (ค.ศ.2007) วัดนี้ถูกกำหนดให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญของชาติ