石川啄木居住地跡
イシカワタクボクキョジュウチアト
石川啄木居住地跡
「函館の青柳町こそかなしけれ 友の恋歌 矢ぐるまの花」
「わがあとを追ひ来て 知れる人もなき 辺土に住みし母と妻かな」
薄幸の詩人石川啄木が、家族を迎え、住んだ青柳町の借家跡は、この付近の路地にある。岩手県渋民村(現盛岡市)で貧しい暮らしを味わった啄木は、明治40年(1907年)5月初め、一家離散を余儀なくされた。
啄木が新天地を求め、妻節子と長女京子を盛岡の実家・堀合家に預け、母カツは知人宅に託して妹光子だけを伴い、津軽海峡を渡り函館に着いたのは5月5日のことである。(妹は、そのまま小樽の義兄のもとへ向かった。)
啄木を温かく迎え入れたのは、函館の文学愛好家グループ「苜蓿社」の同人達であった。
啄木の日記に「四十頁の小雑誌なれども北海に於ける唯一の真面目なる文芸雑誌」と記された文芸誌「紅苜蓿」は、のちに啄木が主筆となり、一切の編集を任されることとなる。その苜蓿社は、この地より左手の青柳小学校の上辺にあり、一時啄木はそこに仮住まいをしていた。
7月7日、啄木は盛岡から妻子を呼び寄せて、この付近の路地奥にあった借家に落ち着き、8月には母と妹を迎え、新家庭づくりにかかるが、不幸にも8月25日夜、大火が発生し、勤めていた弥生尋常小学校や函館日日新聞社が焼けてしまった。職場を失った啄木は、9月13日新たな職を求めて札幌へと旅立ち、函館での生活は4ヶ月余りで終わりを告げたのである。
函館市
石川啄木居住地遗迹
「函馆の青柳町こそかなしけれ 友の恋歌 矢ぐるまの花」(函馆的青柳町时代令人难忘。倾听友人恋歌的彼时美好时光,与周遭屋外芬芳盛开的矢车菊。)
「わがあとを追ひ来て 知れる人もなき 辺土に住みし母と妻かな」(追随吾之脚步到来此地,无亲无故,住于这偏僻之地的母与妻。)
搏命诗人石川啄木与家人层居于青柳町的租房遗迹就在这附近的小巷里。曾经在岩手县涉民村(现盛冈市)经历贫寒生活的啄木在明治40年(1907年)迫于无奈不得不与家人分开。
啄木为寻求新天地,将妻子节子和长女京子托付给盛冈老家---堀合家,把老母亲也托付给友人,与妹妹一起5月5号渡过津軽海峡来至函馆。(其妹随后去往小樽的义兄家了。)
欢迎啄木前来的是函馆文学爱好家团体“苜蓿社 ”的同道中人。
石川啄木的日记中写道“虽然是四十页的小杂志,但是北海道唯一最认真的文学杂志”,之后啄木成为了这家文艺杂志社红苜蓿的主笔,并被委任做所有的编辑。上述苜蓿社就在左手边青柳小学校的上面一带,啄木曾在那里暂住。
7月7日啄木把妻子从盛冈叫来,在这附近的巷子深处租借了一处房子安顿下来,8月将母亲和妹妹也接来,开始了新的家族生活。但是很不幸8月25日夜里发生了火灾,将弥生寻常小学以及函馆日日新闻社焚烧殆尽。
失去了工作之处的啄木为了寻求新的工作9月13号去往札幌,函馆的生活仅仅4个月便宣告结束。
函馆市
石川啄木居住地遺跡
「函館の青柳町こそかなしけれ 友の恋歌 矢ぐるまの花」(函館的青柳町時代令人難忘。傾聽友人戀歌的彼時美好時光,與周遭屋外芬芳盛開的矢車菊。)
「わがあとを追ひ来て 知れる人もなき 辺土に住みし母と妻かな」(追隨吾之腳步到來此地,無親無故,住於這偏僻之地的母與妻。)
搏命詩人石川啄木與家人層居於青柳町的租房遺跡就在這附近的小巷裡。曾經在岩手縣涉民村(現盛岡市)經歷貧寒生活的啄木在明治40年(1907年)迫於無奈不得不與家人分開。
啄木為尋求新天地,將妻子節子和長女京子託付給盛岡老家---堀合家,把老母親也託付給友人,與妹妹一起5月5號渡過津軽海峡來至函館。(其妹隨後去往小樽的義兄家了。)
歡迎啄木前來的是函館文學愛好家團體「苜蓿社 」的同道中人。
石川啄木的日記中寫道「雖然是四十頁的小雜誌,但是北海道唯一最認真的文學雜誌」,之後啄木成為了這家文藝雜誌社「紅苜蓿 」的主筆,並被委任做所有的編輯。上述「苜蓿社 」就在左手邊青柳小學校的上面一帶,啄木曾在那裡暫住。
7月7日啄木把妻子從盛岡叫來,在這附近的巷子深處租借了一處房子安頓下來,8月將母親和妹妹也接來,開始了新的家族生活。但是很不幸8月25日夜裡發生了火災,將彌生尋常小學以及函館日日新聞社焚燒殆盡。
失去了工作之處的啄木為了尋求新的工作9月13號去往札幌,函館的生活僅僅4個月便宣告結束。
函館市
ที่ที่เคยเป็นบ้านของอิชิคาวะ ทาคุโบะคุ
"ตำบลอาโอยางิของฮาโคดาเตะนั่นแหละเศร้า กลอนรักของเพื่อน คอร์นฟลาวเวอร์"
"ตามเรามา คงเป็นแม่และเมียอาศัยอยู่ในดินแดนที่ไม่มีใครรู้จัก"
บ้านเช่าที่ตำบลอาโอยางิ ที่อิชิคาวะ ทาคุโบะคุ กวีผู้อับโชค พาครอบครัวมาอาศัยอยู่ อยู่ในซอยแถวนี้ ทาคุโบะคุที่ได้ลิ้มรสความเป็นอยู่ที่ยากจนในหมู่บ้านชิบุทามิ จังหวัดอีวาเทะ (อำเภอโมริโอกะในปัจจุบัน) ต้นเดือนพฤษภาคม ปีเมจิที่ 40 (ค.ศ.1907) ครอบครัวแตกกระสานซ่านเซ็นโดยไม่เต็มใจ
ทาคุโบะคุออกเดินทางไปหาที่ใหม่ โดยฝากเซ็ตสึโกะภรรยาและเคียวโกะลูกสาวคนโตไว้ที่บ้านโฮริไอ ซึ่งเป็นบ้านของพ่อแม่ที่โมริโอกะ และฝากคัตสึผู้เป็นแม่ไว้ที่บ้านคนรู้จัก และเดินทางข้ามช่องแคบทสึงารุพร้อมกับมิตสึโกะน้องสาว มาถึงฮาโกดาเตะวันที่ 5 พฤษภาคม (น้องสาว ไปหาพี่เขยที่โอตารุ)
ผู้ที่ต้อนรับทาคุโบะคุอย่างอบอุ่นคือ "โบะคุชุคุชะ" กลุ่มผู้รักวรรณคดีของฮาโกดาเตะ
วารสารวรรณกรรม "เบนิมาโกยาชิ" ที่ถูกบันทึกไว้ในสมุดบันทึกของทาคุโบะคุว่า "เป็นวารสารเล่มเล็กเพียง 40 หน้า แต่จัดว่าเป็นวารสารฉบับเดียวที่เอาจริงเอาจังของฮอกไกโด" ภายหลัง ทาคุโบะคุกลายเป็นผู้เขียนหลัก และได้รับมอบหมายให้รับหน้าที่บรรณาธิการ โบะคุชุคุชะนั้น อยู่ด้านซ้ายมือของโรงเรียนประถมอาโอยางิ เป็นที่พักชั่วคราวของทาคุโบะคุ
วันที่ 7 กรกฏาคม ทาคุโบะคุ เรียกภรรยาและลูกมาจากโมริโอกะ และพาไปอาศัยอยู่ที่บ้านเช่าที่เคยมีอยู่ข้างในซอยละแวกนี้ เดือนสิงหาคม ก็รับแม่และน้องสาวมาอยู่ด้วย เริ่มสร้างครอบครัวขึ้นมาใหม่ แต่วันที่ 25 สิงหาคม เกิดไฟไหม้ครั้งใหญ่ โรงเรียนประถมยาโยอิจินโจและบริษัทหนังสือพิมพ์ฮาโกดาเตะนิจินิจิ ถูกเผาวอดหมด
เมื่อสูญเสียที่ทำงาน ทาคุโบะคุ จึงออกเดินทางไปยังซับโปโร ในวันที่ 13 กันยายน เพื่อหางานทำ ทำให้การใช้ชีวิตที่ฮาโกดาเตะสิ้นสุดลงแค่เพียงสี่เดือนเศษ